โครงการ “จุลสารผู้ปกครองสร้างลูกให้เก่ง ดี มีสุข”
เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการปลูกฝังเด็กปฐมวัย
“The Sufficiency Economy’ s knowledges Newsletters for Early Childhood’s establishment”
หลักการและเหตุผล
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทาง การดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลง ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่านั้นทำให้เกิดการตื่นตัวของสังคมเป็นอย่างมากในเรื่องของการนำหลักปรัชญามาใช้ในการดำรงชีวิต ไม่เฉพาะในวัยผู้ใหญ่ต้องน้อมนำมาประยุกต์ใช้เท่านั้นที่ ในวัยเด็กก็ควรให้เกิดความเข้าใจและรู้จักใช้ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง ผู้ใหญ่จึงควรปลูกฝังให้เกิดความซึมซับทีละน้อยเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
นอกจากนี้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจึงมีความจำเป็นต่อการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ทั้งด้านร่างกายที่มีความสมบูรณ์ แข็งแรง มีสติปัญญาใฝ่รู้ มีจิตสำนึกในคุณธรรมจริยธรรม มีความเพียรที่จะนำมาใช้ในการดำเนินชีวิตได้อย่างมั่นคงยั่งยืน อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศให้เจริญยิ่งขึ้นอีก
ดังนั้นนักศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้จัดให้มีโครงการ จุลสารความรู้สู่ผู้ปกครองเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับเด็กปฐมวัย ขึ้นในโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งเป็นการสื่อสารแบบ 2 ทาง(2 - Way Communication) เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการปลูกฝังแนวทางการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขตามแนวพระราชดำรัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่เด็ก และเพื่อเป็นการปลูกฝังตั้งแต่วัยเด็ก ให้สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่น และการเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ อย่างถูกต้องเหมาะสมอันเป็นการปูพื้นฐานให้เด็กช่วยเหลือตนเองได้และเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในสังคม
วัตถุประสงค์
โครงการจุลสารความรู้สู่ผู้ปกครองเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับลูกรัก มีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจในการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้
2. เพื่อให้ผู้ปกครองทราบถึงแนวทางหรือวิธีการที่หลากหลายในการพัฒนาเด็ก
3. เพื่อให้ครูและผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพของเด็ก
4. เพื่อให้ทราบถึงวิธีการในการจัดการเรียนรู้ ให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างสนุกสนานและเกิดความผูกพันในครอบครัว
5. เพื่อให้เด็กได้รับองค์ความรู้จากกระบวนการในการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง
6. เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปถ่ายทอดให้กับบุตรหลาน
7. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้จากการทำจุลสารนี้
8. เพื่อให้นักศึกษาจะได้เรียนรู้ขั้นตอนวิธีการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและการจัดทำจุลสารให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง
เป้าหมาย
ด้านปริมาณ
ผู้ปกครองและเด็กอนุบาลชั้นปีที่ 1 ห้องอนุบาล 1/2 จำนวน 20 คน ของโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์ของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เข้าร่วมโครงการในครั้งนี้
ด้านคุณภาพ
ผู้ปกครองและเด็กอนุบาลชั้นปีที่ 1 ห้องอนุบาล 1/2 จำนวน 20 คน ของโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์ ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ที่เข้าร่วมโครงการจุลสารความรู้สู่ผู้ปกครองเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับลูกรัก ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องแนวทางการดำเนินชีวิตตามแนวพระราชดำรัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสามารถนำไปการประยุกต์ใช้รวมทั้งยังนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการปลูกฝังเด็กปฐมวัย
“The Sufficiency Economy’ s knowledges Newsletters for Early Childhood’s establishment”
หลักการและเหตุผล
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชดำรัสชี้แนะแนวทาง การดำเนินชีวิตแก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า 25 ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังได้ทรงเน้นย้ำ แนวทางการแก้ไขเพื่อให้รอดพ้น และสามารถดำรงอยู่ได้อย่างมั่นคงและยั่งยืนภายใต้กระแสโลกาภิวัฒน์และความเปลี่ยนแปลง ในปัจจุบันจะเห็นได้ว่านั้นทำให้เกิดการตื่นตัวของสังคมเป็นอย่างมากในเรื่องของการนำหลักปรัชญามาใช้ในการดำรงชีวิต ไม่เฉพาะในวัยผู้ใหญ่ต้องน้อมนำมาประยุกต์ใช้เท่านั้นที่ ในวัยเด็กก็ควรให้เกิดความเข้าใจและรู้จักใช้ใช้ชีวิตอย่างพอเพียง ผู้ใหญ่จึงควรปลูกฝังให้เกิดความซึมซับทีละน้อยเพื่อให้เกิดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ
นอกจากนี้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจึงมีความจำเป็นต่อการพัฒนาศักยภาพและเสริมสร้างคุณภาพชีวิต ทั้งด้านร่างกายที่มีความสมบูรณ์ แข็งแรง มีสติปัญญาใฝ่รู้ มีจิตสำนึกในคุณธรรมจริยธรรม มีความเพียรที่จะนำมาใช้ในการดำเนินชีวิตได้อย่างมั่นคงยั่งยืน อันจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศให้เจริญยิ่งขึ้นอีก
ดังนั้นนักศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขาการศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จึงได้จัดให้มีโครงการ จุลสารความรู้สู่ผู้ปกครองเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับเด็กปฐมวัย ขึ้นในโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ซึ่งเป็นการสื่อสารแบบ 2 ทาง(2 - Way Communication) เพื่อให้ผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการปลูกฝังแนวทางการดำเนินชีวิตอย่างมีความสุขตามแนวพระราชดำรัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงให้แก่เด็ก และเพื่อเป็นการปลูกฝังตั้งแต่วัยเด็ก ให้สามารถปรับตัวเข้ากับผู้อื่น และการเตรียมความพร้อมในการเรียนรู้เรื่องราวต่าง ๆ อย่างถูกต้องเหมาะสมอันเป็นการปูพื้นฐานให้เด็กช่วยเหลือตนเองได้และเติบโตเป็นผู้ใหญ่ที่ดีในสังคม
วัตถุประสงค์
โครงการจุลสารความรู้สู่ผู้ปกครองเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับลูกรัก มีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจในการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้
2. เพื่อให้ผู้ปกครองทราบถึงแนวทางหรือวิธีการที่หลากหลายในการพัฒนาเด็ก
3. เพื่อให้ครูและผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพของเด็ก
4. เพื่อให้ทราบถึงวิธีการในการจัดการเรียนรู้ ให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างสนุกสนานและเกิดความผูกพันในครอบครัว
5. เพื่อให้เด็กได้รับองค์ความรู้จากกระบวนการในการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง
6. เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปถ่ายทอดให้กับบุตรหลาน
7. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้จากการทำจุลสารนี้
8. เพื่อให้นักศึกษาจะได้เรียนรู้ขั้นตอนวิธีการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและการจัดทำจุลสารให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง
เป้าหมาย
ด้านปริมาณ
ผู้ปกครองและเด็กอนุบาลชั้นปีที่ 1 ห้องอนุบาล 1/2 จำนวน 20 คน ของโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์ของ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ เข้าร่วมโครงการในครั้งนี้
ด้านคุณภาพ
ผู้ปกครองและเด็กอนุบาลชั้นปีที่ 1 ห้องอนุบาล 1/2 จำนวน 20 คน ของโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์ ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ เจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์ ที่เข้าร่วมโครงการจุลสารความรู้สู่ผู้ปกครองเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับลูกรัก ให้มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องแนวทางการดำเนินชีวิตตามแนวพระราชดำรัสปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อสามารถนำไปการประยุกต์ใช้รวมทั้งยังนำไปใช้ในการดำเนินชีวิตประจำวันได้
ลักษณะของจุลสาร
จุลสารความรู้สู่ผู้ปกครองเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับลูกรัก เป็นการนำเสนอข้อความรู้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ซึ่งผู้จัดทำได้รวบรวมวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อความรู้ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยนำมาเรียบเรียงใหม่ เพื่อเป็นความรู้ให้ผู้ปกครองได้นำไปถ่ายทอดให้กับเด็กปฐมวัย ในจุลสารฉบับนี้มีองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบดังนี้
1. บทนำ เป็นส่วนที่พูดถึงความสำคัญของจุลสาร
2. ความรู้ เป็นส่วนที่นำเสนอข้อความรู้ที่เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ภาษาที่ง่ายพร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ
3. กิจกรรม คือส่วนที่ให้ผู้ปกครองได้จัดกระทำให้กับลูกหลานของตน
4. การสื่อสาร 2 ทาง(2- Way Communication) เป็นส่วนที่ให้ผู้ปกครองได้สอบถามและบันทึกคำตอบที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการปลูกฝัง แนวคิด ทัศนคติ เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการสื่อสารแบบ 2 ทาง โดยให้ผู้ปกครองได้บันทึกคำตอบ,กิจกรรมแล้วนำส่งกลับคืนครูประจำชั้น
ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน
1. วางแผนและกำหนดหัวข้อการจัดทำโครงการ
2. เสนอหัวข้อการทำโครงการต่อผู้บริหารโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ฯ
3. ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาในการดำเนินการ
4. รวบรวมเอกสารเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5. การดำเนินโครงการ
6. การจัดตั้งจุลสาร
7. การประเมินผลโครงการ
8. การรายงานโครงการ
ตารางแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน
1. วางแผนและกำหนดหัวข้อการจัดทำโครงการ
2. เสนอหัวข้อโครงการต่อผู้บริหารโรงเรียน
3. ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาในการดำเนินการ
4.รวบรวมเอกสารเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5. ดำเนินโครงการ
วันและเวลาในการดำเนินโครงการ
วันที่ 15 สิงหาคม – วันที่ 26 กันยายน 2551
สถานที่ดำเนินการ
โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ผู้รับผิดชอบโครงการ
นางสาวนิตยา ทองภาพ นักศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
จุลสารความรู้สู่ผู้ปกครองเรื่องปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับลูกรัก เป็นการนำเสนอข้อความรู้เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ซึ่งผู้จัดทำได้รวบรวมวิเคราะห์และสังเคราะห์ข้อความรู้ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยนำมาเรียบเรียงใหม่ เพื่อเป็นความรู้ให้ผู้ปกครองได้นำไปถ่ายทอดให้กับเด็กปฐมวัย ในจุลสารฉบับนี้มีองค์ประกอบ 4 องค์ประกอบดังนี้
1. บทนำ เป็นส่วนที่พูดถึงความสำคัญของจุลสาร
2. ความรู้ เป็นส่วนที่นำเสนอข้อความรู้ที่เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยใช้ภาษาที่ง่ายพร้อมทั้งยกตัวอย่างประกอบ
3. กิจกรรม คือส่วนที่ให้ผู้ปกครองได้จัดกระทำให้กับลูกหลานของตน
4. การสื่อสาร 2 ทาง(2- Way Communication) เป็นส่วนที่ให้ผู้ปกครองได้สอบถามและบันทึกคำตอบที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการปลูกฝัง แนวคิด ทัศนคติ เกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นการสื่อสารแบบ 2 ทาง โดยให้ผู้ปกครองได้บันทึกคำตอบ,กิจกรรมแล้วนำส่งกลับคืนครูประจำชั้น
ขั้นตอนวิธีการดำเนินงาน
1. วางแผนและกำหนดหัวข้อการจัดทำโครงการ
2. เสนอหัวข้อการทำโครงการต่อผู้บริหารโรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ฯ
3. ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาในการดำเนินการ
4. รวบรวมเอกสารเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5. การดำเนินโครงการ
6. การจัดตั้งจุลสาร
7. การประเมินผลโครงการ
8. การรายงานโครงการ
ตารางแสดงขั้นตอนการดำเนินงาน
1. วางแผนและกำหนดหัวข้อการจัดทำโครงการ
2. เสนอหัวข้อโครงการต่อผู้บริหารโรงเรียน
3. ปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาในการดำเนินการ
4.รวบรวมเอกสารเกี่ยวกับปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
5. ดำเนินโครงการ
วันและเวลาในการดำเนินโครงการ
วันที่ 15 สิงหาคม – วันที่ 26 กันยายน 2551
สถานที่ดำเนินการ
โรงเรียนอนุบาลแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพระอุปถัมภ์ของสมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอเจ้าฟ้ากัลยาณิวัฒนา กรมหลวงนราธิวาสราชนครินทร์
ผู้รับผิดชอบโครงการ
นางสาวนิตยา ทองภาพ นักศึกษาชั้นปีที่ 5 สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
งบประมาณ
ค่าเอกสารการจัดทำจุลสารฉบับที่ 1 – 6 300บาท
การประเมินผล
- แบบตอบกลับการแสดงความคิดเห็นประจำสัปดาห์
- จำนวนผู้ที่เข้าร่วมโครงการ
ค่าเอกสารการจัดทำจุลสารฉบับที่ 1 – 6 300บาท
การประเมินผล
- แบบตอบกลับการแสดงความคิดเห็นประจำสัปดาห์
- จำนวนผู้ที่เข้าร่วมโครงการ
- ผู้ประเมินความพึงพอใจ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจในการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้
2. เพื่อให้ผู้ปกครองทราบถึงแนวทางหรือวิธีการที่หลากหลายในการพัฒนาเด็ก
3. เพื่อให้ครูและผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพของเด็ก
4. เพื่อให้ทราบถึงวิธีการในการจัดการเรียนรู้ ให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างสนุกสนานและเกิดความผูกพันในครอบครัว
5. เพื่อให้เด็กได้รับองค์ความรู้จากกระบวนการในการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง
6. เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปถ่ายทอดให้กับบุตรหลาน
7. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้จากการทำจุลสารนี้
8. เพื่อให้นักศึกษาจะได้เรียนรู้ขั้นตอนวิธีการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและการจัดทำจุลสารให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. เพื่อให้ผู้ปกครองได้รับความรู้ ความเข้าใจในการน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้
2. เพื่อให้ผู้ปกครองทราบถึงแนวทางหรือวิธีการที่หลากหลายในการพัฒนาเด็ก
3. เพื่อให้ครูและผู้ปกครองได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและส่งเสริมศักยภาพของเด็ก
4. เพื่อให้ทราบถึงวิธีการในการจัดการเรียนรู้ ให้เด็กเกิดการเรียนรู้อย่างสนุกสนานและเกิดความผูกพันในครอบครัว
5. เพื่อให้เด็กได้รับองค์ความรู้จากกระบวนการในการให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง
6. เพื่อให้ผู้ปกครองสามารถนำความรู้ ความเข้าใจไปถ่ายทอดให้กับบุตรหลาน
7. เพื่อให้นักศึกษาได้รับความรู้จากการทำจุลสารนี้
8. เพื่อให้นักศึกษาจะได้เรียนรู้ขั้นตอนวิธีการให้ความรู้แก่ผู้ปกครองและการจัดทำจุลสารให้ความรู้แก่ผู้ปกครอง
รายงานผลการดำเนินโครงการจุลสารผู้ปกครองสร้างลูกให้เก่งดีมีสุข
ระหว่างวันที่ 15 สิงหาคม ถึง 26 กันยายน 2551
นางสาวนิตยา ทองภาพ นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ชั้นปีที่ 5 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดทำโครงการจุลสารผู้ปกครองสร้างลูกให้เก่งดีมีสุข ระหว่างวันที่ 15 สิงหาคม - 26 กันยายน 2551 โดยมีผู้ปกครองเข้าร่วมโครงการจำนวน 18 คน ซึ่งมีความคิดเห็นต่อการจัดดำเนินโครงการและการนำไปใช้ดังนี้
ด้านเนื้อหาสาระ
ผู้ปกครองส่วนใหญ่ที่ตอบแบบประเมินความพึงพอใจมีความเห็นต่อจุลสารด้านเนื้อหาสาระ ในระดับมาก ดังนี้ จุลสารดังกล่าวให้ความรู้ที่จะนำไปสู่เด็ก ( = 4.27 S.D. = 0.75) ความรู้และเนื้อหาในจุลสารมีความเหมาะสม ( = 4.11 S.D. = 0.83) และเนื้อหาในจุลสารมีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ ( = 4.33 S.D. = 0.68)
ด้านการนำไปใช้
ผู้ปกครองส่วนใหญ่ที่ตอบแบบประเมินความพึงพอใจมีความเห็นต่อการนำไปใช้ อยู่ในระดับมาก ดังนี้ การได้นำความรู้ไปใช้กับบุตรหลาน ( = 4.38 S.D. = 0.60) ได้นำความรู้ในเรื่องนี้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ( = 4.33 S.D. = 0.68) สามารถนำคำถามที่ใช้ในจุลสารกระตุ้นให้เด็กเกิดความคิด ( =4.22 S.D. = 0.80) และเด็กมีพัฒนาการทางภาษาและทักษะในการแก้ปัญหาเพิ่มขึ้น ( =4.11 S.D. = 0.96)
ด้านองค์ประกอบของจุลสาร
ผู้ปกครองส่วนใหญ่ที่ตอบแบบประเมินความพึงพอใจมีความเห็นต่อองค์ประกอบของจุลสาร อยู่ในระดับมาที่สุดดังนี้ รูปแบบและรูปเล่มมีความเหมาะสม ( = 4.33 S.D. 0.48) รูปแบบขนาดของตัวหนังสือสามารถอ่านได้ชัดเจน ( =4.38 S.D.= 0.60) และมีความต้องการให้โรงเรียนจัดทำจุลสารหรือเอกสารประเภทนี้อีก ( = 4.44 S.D.= 0.70)
ด้านข้อเสนอแนะ
ในโครงการจุลสารผู้ปกครองสร้างลูกให้เก่งดีมีสุข มีผู้ปกครองได้ให้ข้อเสนอแนะดังนี้
- ถ้ามีภาพเป็นสื่อในจุลสารก็จะทำให้เด็กมีความสนใจมากขึ้น
- ความรู้และเนื้อหาบางข้อความก็ยังไม่เหมาะกับวัยของน้อง ถ้าหากจะให้น้องเข้าใจก็ต้องใช้เวลาอธิบายกันมากหน่อย หากจะถามและต้องการคำตอบจากน้องในเวลานั้นเลยก็จะยากไป
- ขอบคุณนะคะ ที่สรรหาสิ่งดีดีที่มีต่อพัฒนาการของเด็ก ๆ มาให้อ่าน เพื่อที่จะได้นำไปปฏิบัติและปรับปรุงการพัฒนาการของเด็ก และยังมีการสนทนาและทำกิจกรรมร่วมกันในครอบครัวด้วย ขอบคุณมากคะ
- เป็นเนื้อหาสาระที่ดีในการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงมาใช้ แต่เห็นว่าการปลูกฝังปรัชญาดังกล่าวอาจจะไม่เหมาะกับเด็กวัยนี้เท่าใดนักเพราะเด็กวัยขนาดนี้จะบอกกล่าวให้ฟังยากมากมัวแต่จะเล่นอย่างเดียว เห็นการทำกิจกรรมอะไรก็ได้แต่ให้แฝงแนวคิดปรัชญา น่าจะทำให้เด็กเข้าใจมากกว่านะครับ
- สื่อ รายละเอียดค่อนข้างน้อย พยายามให้มีรูปภาพเช่นการ์ตูนต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องที่นำเสนอเพื่อกระตุ้นให้เด็กสนใจ จะขอบคุณมากนะครับ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
จากตารางพบว่า ผู้ปกครองที่ตอบแบบประเมินความพึงพอใจในโครงการจุลสารผู้ปกครองสร้างลูกให้เก่งดีมีสุข มีความพึงพอใจต่อโครงการดังกล่าวโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้วผู้ปกครองส่วนใหญ่มีความคิดเห็นในระดับมากในเรื่องจุลสารดังกล่าวให้ความรู้ที่จะนำไปสู่เด็กมาก ( = 4.27 S.D. = 0.75) ความรู้และเนื้อหาในจุลสารมีความเหมาะสมมาก ( = 4.11 S.D. = 0.83) เนื้อหาในจุลสารมีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์มาก ( = 4.33 S.D. = 0.68) นอกจากนี้ยังมีความคิดเห็นต่อจุลสารว่าสามารถนำความรู้ไปใช้กับบุตรหลานได้มาก ( = 4.38 S.D. = 0.60) การนำความรู้ในเรื่องนี้ไปใช้ในชีวิตประจำวันมาก ( = 4.33 S.D. = 0.68) ความสามารถในการนำคำถามที่ใช้ในจุลสารกระตุ้นให้เด็กเกิดความคิดมาก ( =4.22 S.D. = 0.80) เด็กมีพัฒนาการทางภาษาและทักษะในการแก้ปัญหาเพิ่มขึ้นมาก ( =4.11 S.D. = 0.96) รูปแบบและรูปเล่มมีความเหมาะสมมาก ( = 4.33 S.D. 0.48) อีกทั้งรูปแบบขนาดของตัวหนังสือสามารถอ่านได้ชัดเจนมาก ( =4.38 S.D.= 0.60) และมีความต้องการให้โรงเรียนจัดทำจุลสารหรือเอกสารประเภทนี้อีกมาก ( = 4.44 S.D.= 0.70)
สรุปผลการตอบคำถามและการแสดงพฤติกรรมในจุลสารแต่ละฉบับ
เด็กชายชญานนท์ กิ่งมาลา ชื่อเล่น น้องเจแปน
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- เก็บและนำไปทิ้งถังขยะและซื้อใหม่
- ปิดน้ำให้หยุดไหลเพื่อไม่ให้น้ำหมดและไม่เสียค่าน้ำเยอะ
ระหว่างวันที่ 15 สิงหาคม ถึง 26 กันยายน 2551
นางสาวนิตยา ทองภาพ นักศึกษาสาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย ชั้นปีที่ 5 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดทำโครงการจุลสารผู้ปกครองสร้างลูกให้เก่งดีมีสุข ระหว่างวันที่ 15 สิงหาคม - 26 กันยายน 2551 โดยมีผู้ปกครองเข้าร่วมโครงการจำนวน 18 คน ซึ่งมีความคิดเห็นต่อการจัดดำเนินโครงการและการนำไปใช้ดังนี้
ด้านเนื้อหาสาระ
ผู้ปกครองส่วนใหญ่ที่ตอบแบบประเมินความพึงพอใจมีความเห็นต่อจุลสารด้านเนื้อหาสาระ ในระดับมาก ดังนี้ จุลสารดังกล่าวให้ความรู้ที่จะนำไปสู่เด็ก ( = 4.27 S.D. = 0.75) ความรู้และเนื้อหาในจุลสารมีความเหมาะสม ( = 4.11 S.D. = 0.83) และเนื้อหาในจุลสารมีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์ ( = 4.33 S.D. = 0.68)
ด้านการนำไปใช้
ผู้ปกครองส่วนใหญ่ที่ตอบแบบประเมินความพึงพอใจมีความเห็นต่อการนำไปใช้ อยู่ในระดับมาก ดังนี้ การได้นำความรู้ไปใช้กับบุตรหลาน ( = 4.38 S.D. = 0.60) ได้นำความรู้ในเรื่องนี้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน ( = 4.33 S.D. = 0.68) สามารถนำคำถามที่ใช้ในจุลสารกระตุ้นให้เด็กเกิดความคิด ( =4.22 S.D. = 0.80) และเด็กมีพัฒนาการทางภาษาและทักษะในการแก้ปัญหาเพิ่มขึ้น ( =4.11 S.D. = 0.96)
ด้านองค์ประกอบของจุลสาร
ผู้ปกครองส่วนใหญ่ที่ตอบแบบประเมินความพึงพอใจมีความเห็นต่อองค์ประกอบของจุลสาร อยู่ในระดับมาที่สุดดังนี้ รูปแบบและรูปเล่มมีความเหมาะสม ( = 4.33 S.D. 0.48) รูปแบบขนาดของตัวหนังสือสามารถอ่านได้ชัดเจน ( =4.38 S.D.= 0.60) และมีความต้องการให้โรงเรียนจัดทำจุลสารหรือเอกสารประเภทนี้อีก ( = 4.44 S.D.= 0.70)
ด้านข้อเสนอแนะ
ในโครงการจุลสารผู้ปกครองสร้างลูกให้เก่งดีมีสุข มีผู้ปกครองได้ให้ข้อเสนอแนะดังนี้
- ถ้ามีภาพเป็นสื่อในจุลสารก็จะทำให้เด็กมีความสนใจมากขึ้น
- ความรู้และเนื้อหาบางข้อความก็ยังไม่เหมาะกับวัยของน้อง ถ้าหากจะให้น้องเข้าใจก็ต้องใช้เวลาอธิบายกันมากหน่อย หากจะถามและต้องการคำตอบจากน้องในเวลานั้นเลยก็จะยากไป
- ขอบคุณนะคะ ที่สรรหาสิ่งดีดีที่มีต่อพัฒนาการของเด็ก ๆ มาให้อ่าน เพื่อที่จะได้นำไปปฏิบัติและปรับปรุงการพัฒนาการของเด็ก และยังมีการสนทนาและทำกิจกรรมร่วมกันในครอบครัวด้วย ขอบคุณมากคะ
- เป็นเนื้อหาสาระที่ดีในการนำปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของในหลวงมาใช้ แต่เห็นว่าการปลูกฝังปรัชญาดังกล่าวอาจจะไม่เหมาะกับเด็กวัยนี้เท่าใดนักเพราะเด็กวัยขนาดนี้จะบอกกล่าวให้ฟังยากมากมัวแต่จะเล่นอย่างเดียว เห็นการทำกิจกรรมอะไรก็ได้แต่ให้แฝงแนวคิดปรัชญา น่าจะทำให้เด็กเข้าใจมากกว่านะครับ
- สื่อ รายละเอียดค่อนข้างน้อย พยายามให้มีรูปภาพเช่นการ์ตูนต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับเรื่องที่นำเสนอเพื่อกระตุ้นให้เด็กสนใจ จะขอบคุณมากนะครับ
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
จากตารางพบว่า ผู้ปกครองที่ตอบแบบประเมินความพึงพอใจในโครงการจุลสารผู้ปกครองสร้างลูกให้เก่งดีมีสุข มีความพึงพอใจต่อโครงการดังกล่าวโดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อแล้วผู้ปกครองส่วนใหญ่มีความคิดเห็นในระดับมากในเรื่องจุลสารดังกล่าวให้ความรู้ที่จะนำไปสู่เด็กมาก ( = 4.27 S.D. = 0.75) ความรู้และเนื้อหาในจุลสารมีความเหมาะสมมาก ( = 4.11 S.D. = 0.83) เนื้อหาในจุลสารมีความทันสมัยและทันต่อเหตุการณ์มาก ( = 4.33 S.D. = 0.68) นอกจากนี้ยังมีความคิดเห็นต่อจุลสารว่าสามารถนำความรู้ไปใช้กับบุตรหลานได้มาก ( = 4.38 S.D. = 0.60) การนำความรู้ในเรื่องนี้ไปใช้ในชีวิตประจำวันมาก ( = 4.33 S.D. = 0.68) ความสามารถในการนำคำถามที่ใช้ในจุลสารกระตุ้นให้เด็กเกิดความคิดมาก ( =4.22 S.D. = 0.80) เด็กมีพัฒนาการทางภาษาและทักษะในการแก้ปัญหาเพิ่มขึ้นมาก ( =4.11 S.D. = 0.96) รูปแบบและรูปเล่มมีความเหมาะสมมาก ( = 4.33 S.D. 0.48) อีกทั้งรูปแบบขนาดของตัวหนังสือสามารถอ่านได้ชัดเจนมาก ( =4.38 S.D.= 0.60) และมีความต้องการให้โรงเรียนจัดทำจุลสารหรือเอกสารประเภทนี้อีกมาก ( = 4.44 S.D.= 0.70)
สรุปผลการตอบคำถามและการแสดงพฤติกรรมในจุลสารแต่ละฉบับ
เด็กชายชญานนท์ กิ่งมาลา ชื่อเล่น น้องเจแปน
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- เก็บและนำไปทิ้งถังขยะและซื้อใหม่
- ปิดน้ำให้หยุดไหลเพื่อไม่ให้น้ำหมดและไม่เสียค่าน้ำเยอะ
ฉบับที่ 2 ตอบว่า
- เก็บไว้เล่นวันต่อไป
- เก็บไว้เล่นวันต่อไป
- รอพ่อกับแม่
- เก็บไว้เล่นวันต่อไป
- เก็บไว้เล่นวันต่อไป
- รอพ่อกับแม่
ฉบับที่ 3 พฤติกรรมที่แสดงออก
- เก็บกล่องและทำความสะอาดและติดเทปกาวกล่องที่ฉีกขาด
- เก็บกล่องและทำความสะอาดและติดเทปกาวกล่องที่ฉีกขาด
ฉบับที่ 4 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 5 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 6 ตอบว่า
- แบ่งเพื่อนกินด้วยกัน แบ่งเท่า ๆ กันทุกคน
- เก็บของเล่นไว้เล่นวันต่อไป และเก็บเข้าตะกร้า
สรุป
จากคำตอบแสดงให้เห็นว่าน้องเริ่มแสดงถึงความมีเหตุผลในเรื่องของการใช้สิ่งของอย่างจำเป็นและประหยัดเช่น น้องบอกว่าหากน้ำไหลทิ้งต้องปิดน้ำไม่ให้น้ำไหลเพื่อไม่ให้น้ำหมดและไม่เสียน้ำเยอะ ในเรื่องของการเล่นของเล่นถ้าของเล่นชิ้นเดิม ๆ เกิดเบื่อแล้วจะเก็บไว้เล่นในครั้งต่อไป และในเรื่องของการแบ่งปันขนมต้องแบ่งปันเพื่อนโดยให้เหตุผลว่าเพราะเป็นเพื่อนกัน
เด็กหญิงชญานี พงษ์พืช ชื่อเล่น น้องมุก
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ซ่อม
- ปิดน้ำ เพราะเดี๋ยวน้ำหมดไม่มีน้ำใช้
- แบ่งเพื่อนกินด้วยกัน แบ่งเท่า ๆ กันทุกคน
- เก็บของเล่นไว้เล่นวันต่อไป และเก็บเข้าตะกร้า
สรุป
จากคำตอบแสดงให้เห็นว่าน้องเริ่มแสดงถึงความมีเหตุผลในเรื่องของการใช้สิ่งของอย่างจำเป็นและประหยัดเช่น น้องบอกว่าหากน้ำไหลทิ้งต้องปิดน้ำไม่ให้น้ำไหลเพื่อไม่ให้น้ำหมดและไม่เสียน้ำเยอะ ในเรื่องของการเล่นของเล่นถ้าของเล่นชิ้นเดิม ๆ เกิดเบื่อแล้วจะเก็บไว้เล่นในครั้งต่อไป และในเรื่องของการแบ่งปันขนมต้องแบ่งปันเพื่อนโดยให้เหตุผลว่าเพราะเป็นเพื่อนกัน
เด็กหญิงชญานี พงษ์พืช ชื่อเล่น น้องมุก
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ซ่อม
- ปิดน้ำ เพราะเดี๋ยวน้ำหมดไม่มีน้ำใช้
ฉบับที่ 2 ตอบว่า
- เก็บไว้
- เก็บ
- ไม่ซื้อ
- เก็บไว้
- เก็บ
- ไม่ซื้อ
ฉบับนี้ 3 พฤติกรรมที่แสดงออก
- รื้อดูของเสีย
- รื้อดูของเสีย
ฉบับที่ 4 ตอบว่า
- ก็ไม่ต้องไป
- บอกว่าก็อยู่บ้าน หาอะไรทำ (เล่น)
- ก็ไม่ต้องไป
- บอกว่าก็อยู่บ้าน หาอะไรทำ (เล่น)
ฉบับที่ 5 ตอบว่า
- อร่อย
- ชมพู,น้ำตาล,ขาว
- สตรอเบอรรี่,ช็อคโกแลต,จืด
- ถ้าแกะแล้วยังกินไม่หมด ก็ต้องแช่ตู้เย็น
- อร่อย
- ชมพู,น้ำตาล,ขาว
- สตรอเบอรรี่,ช็อคโกแลต,จืด
- ถ้าแกะแล้วยังกินไม่หมด ก็ต้องแช่ตู้เย็น
ฉบับที่ 6 ตอบว่า
- แบ่งให้เพื่อนค่ะ
- เก็บของเล่นค่ะ
- แบ่งให้เพื่อนค่ะ
- เก็บของเล่นค่ะ
สรุป
จากการตอบคำถามแสดงให้เห็นว่าน้องเริ่มเข้าใจถึงความพอประมาณมากขึ้น เช่น ในเรื่องของการปิดและซ่อมน้ำโดยบอกว่าถ้าเปิดน้ำทิ้งไว้จะทำให้น้ำหมดเดี๋ยวไม่มีน้ำใช้ และในฉบับที่ 3 ที่ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการซ่อมของเล่น น้องได้ช่วยผู้ปกครองรื้อของที่เสียออกมาดูเพื่อจะได้ทำการซ่อมแซม ในเรื่องของความรู้ได้มีกิจกรรมให้แยกแยะกลิ่น สี รสชาติของนม น้องแยกแยะสี รสชาติและกลิ่นของนมได้ พร้อมทั้งบอกว่าถ้ากินไม่หมดต้องแช่เย็นไว้ นอกจากนี้ยังแสดงถึงความมีคุณธรรมในเรื่องของการแบ่งปันสิ่งของโดยบอกว่าแบ่งให้เพื่อนด้วย
เด็กหญิงณัฐฐิญา เอมบุตร ชื่อเล่น น้องมายมินท์
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- หนูจะร้องไห้ให้คุณแม่ซื้อให้ใหม่ค่ะ
- หนูจะปิดน้ำเอง ถ้าเปิดน้ำไว้มันจะเปลืองน้ำ เดี๋ยวไม่มีน้ำใช้
จากการตอบคำถามแสดงให้เห็นว่าน้องเริ่มเข้าใจถึงความพอประมาณมากขึ้น เช่น ในเรื่องของการปิดและซ่อมน้ำโดยบอกว่าถ้าเปิดน้ำทิ้งไว้จะทำให้น้ำหมดเดี๋ยวไม่มีน้ำใช้ และในฉบับที่ 3 ที่ให้เด็กได้มีส่วนร่วมในกิจกรรมการซ่อมของเล่น น้องได้ช่วยผู้ปกครองรื้อของที่เสียออกมาดูเพื่อจะได้ทำการซ่อมแซม ในเรื่องของความรู้ได้มีกิจกรรมให้แยกแยะกลิ่น สี รสชาติของนม น้องแยกแยะสี รสชาติและกลิ่นของนมได้ พร้อมทั้งบอกว่าถ้ากินไม่หมดต้องแช่เย็นไว้ นอกจากนี้ยังแสดงถึงความมีคุณธรรมในเรื่องของการแบ่งปันสิ่งของโดยบอกว่าแบ่งให้เพื่อนด้วย
เด็กหญิงณัฐฐิญา เอมบุตร ชื่อเล่น น้องมายมินท์
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- หนูจะร้องไห้ให้คุณแม่ซื้อให้ใหม่ค่ะ
- หนูจะปิดน้ำเอง ถ้าเปิดน้ำไว้มันจะเปลืองน้ำ เดี๋ยวไม่มีน้ำใช้
ฉบับที่ 2 ตอบว่า
- เล่นจนกว่าจะพังแล้วให้คุณแม่ซื้อให้ใหม่
- หนูจะเก็บเข้าที่เดิมค่ะ จะได้หาเจอ
- หนูจะบอกให้คุณแม่ซื้อให้ค่ะ
- ถ้าอยู่โรงเรียนหนูจะให้ครูซื้อให้ค่ะ/ถ้าเพื่อนซื้อมาก็ขอเพื่อนกิน
- เล่นจนกว่าจะพังแล้วให้คุณแม่ซื้อให้ใหม่
- หนูจะเก็บเข้าที่เดิมค่ะ จะได้หาเจอ
- หนูจะบอกให้คุณแม่ซื้อให้ค่ะ
- ถ้าอยู่โรงเรียนหนูจะให้ครูซื้อให้ค่ะ/ถ้าเพื่อนซื้อมาก็ขอเพื่อนกิน
ฉบับที่ 3 พฤติกรรมที่แสดงออก
- น้องมายมินท์จะยืนมองดูและช่วยคุณพ่อ ช่วยคุณแม่หาเครื่องมือซ่อมแซมกล่อง
- น้องมายมินท์จะยืนมองดูและช่วยคุณพ่อ ช่วยคุณแม่หาเครื่องมือซ่อมแซมกล่อง
ฉบับที่ 4 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 5 ตอบว่า
- รสชาติไม่เหมือนกันเลย หนูชอบรสหวานกับรสส้ม
- สีชมพูเป็นรสสตรอเบอรี่/สีส้มรสส้ม/สีน้ำตาลรสชอคโกแลต
- กลิ่นไม่เหมือนกัน แยกกลิ่นผลไม้ได้ แต่กลิ่นนมจืดกับนมรสหวานแยกไม่ได้
- เก็บไว้ในตู้เย็น
- รสชาติไม่เหมือนกันเลย หนูชอบรสหวานกับรสส้ม
- สีชมพูเป็นรสสตรอเบอรี่/สีส้มรสส้ม/สีน้ำตาลรสชอคโกแลต
- กลิ่นไม่เหมือนกัน แยกกลิ่นผลไม้ได้ แต่กลิ่นนมจืดกับนมรสหวานแยกไม่ได้
- เก็บไว้ในตู้เย็น
ฉบับที่ 6 ตอบว่า
- หนูจะแบ่งขนมให้วุ้น/ชีท/แพรวา/ศุภกฤต แค่นี้ค่ะหนูไม่แบ่งให้ไนซ์กับวินเซิฟ 2 คนนี้ ชอบแกล้ง
- หนูเล่นเสร็จแล้วหนูก็จะเอาไว้ที่เดิม
- หนูจะแบ่งขนมให้วุ้น/ชีท/แพรวา/ศุภกฤต แค่นี้ค่ะหนูไม่แบ่งให้ไนซ์กับวินเซิฟ 2 คนนี้ ชอบแกล้ง
- หนูเล่นเสร็จแล้วหนูก็จะเอาไว้ที่เดิม
สรุป
จากคำตอบแสดงให้เห็นว่าในฉบับแรกที่ถามเกี่ยวกับเรื่องของการเล่นของเล่นถ้าเกิดว่าพังจะทำอย่างไร น้องตอบว่าจะร้องไห้ให้คุณแม่ซื้อใหม่ แสดงให้เห็นว่าทักษะในการแก้ปัญหายังน้อยแต่เมื่อคุณแม่ได้อธิบายให้ฟังเกี่ยวกับเรื่องของความพอประมาณในการประหยัดน้ำ – ไฟและการเล่นของเล่น ในฉบับที่ 2 น้องตอบว่าจะเล่นของเล่นชิ้นนั้นจนกว่าจะพังถึงจะซื้อใหม่ ส่วนในฉบับที่ 3 ที่เป็นกิจกรรมให้เด็กได้มีส่วนร่วมกับผู้ปกครองในการรื้อซ่อมของเล่น น้องยืนมองดูและช่วยคุณพ่อ คุณแม่หาเครื่องมือซ่อมแซมกล่อง ในเรื่องของการแบ่งปันน้องยังมีการยึดตนเองเป็นศูนย์กลางอยู่คือ น้องจะแบ่งให้เฉพาะคนที่ตนเองชอบเท่านั้น เช่น บอกว่าหนูจะแบ่งขนมให้วุ้น/ชีท/แพรวา/ศุภกฤต แค่นี้ค่ะหนูไม่แบ่งให้ไนซ์กับวินเซิฟ 2 คนนี้ ชอบแกล้ง
เด็กชายธนโชติ นามสกุล แก้วสุวรรณ ชื่อเล่น น้องภูมิ
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- นำของเล่นไปซ่อม
- เดินไปปิดน้ำ เพราะน้ำจะหมด
จากคำตอบแสดงให้เห็นว่าในฉบับแรกที่ถามเกี่ยวกับเรื่องของการเล่นของเล่นถ้าเกิดว่าพังจะทำอย่างไร น้องตอบว่าจะร้องไห้ให้คุณแม่ซื้อใหม่ แสดงให้เห็นว่าทักษะในการแก้ปัญหายังน้อยแต่เมื่อคุณแม่ได้อธิบายให้ฟังเกี่ยวกับเรื่องของความพอประมาณในการประหยัดน้ำ – ไฟและการเล่นของเล่น ในฉบับที่ 2 น้องตอบว่าจะเล่นของเล่นชิ้นนั้นจนกว่าจะพังถึงจะซื้อใหม่ ส่วนในฉบับที่ 3 ที่เป็นกิจกรรมให้เด็กได้มีส่วนร่วมกับผู้ปกครองในการรื้อซ่อมของเล่น น้องยืนมองดูและช่วยคุณพ่อ คุณแม่หาเครื่องมือซ่อมแซมกล่อง ในเรื่องของการแบ่งปันน้องยังมีการยึดตนเองเป็นศูนย์กลางอยู่คือ น้องจะแบ่งให้เฉพาะคนที่ตนเองชอบเท่านั้น เช่น บอกว่าหนูจะแบ่งขนมให้วุ้น/ชีท/แพรวา/ศุภกฤต แค่นี้ค่ะหนูไม่แบ่งให้ไนซ์กับวินเซิฟ 2 คนนี้ ชอบแกล้ง
เด็กชายธนโชติ นามสกุล แก้วสุวรรณ ชื่อเล่น น้องภูมิ
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- นำของเล่นไปซ่อม
- เดินไปปิดน้ำ เพราะน้ำจะหมด
ฉบับที่ 2 ตอบว่า
- นำไปซ่อม
- เก็บไว้ที่บ้านไม่ทิ้ง
- ยังไม่ซื้อมาขอเงินพ่อก่อน
- นำไปซ่อม
- เก็บไว้ที่บ้านไม่ทิ้ง
- ยังไม่ซื้อมาขอเงินพ่อก่อน
ฉบับที่ 3 พฤติกรรมที่แสดงออก
- ช่วยเลือกของเล่นที่พังชำรุดแล้วแยกประเภทแล้วช่วยซ่อมแซม
- ช่วยเลือกของเล่นที่พังชำรุดแล้วแยกประเภทแล้วช่วยซ่อมแซม
ฉบับที่ 4 ตอบว่า
- ไปร้านค้าใกล้ ๆ ก็ได้ มีของเล่นเหมือนกันและจะเล่นอยู่กับเพื่อนที่บ้าน
- ไม่โกรธและทำตามโดยดี มีความสนใจที่จะไปร้านค้าใกล้ ๆ
- ไปร้านค้าใกล้ ๆ ก็ได้ มีของเล่นเหมือนกันและจะเล่นอยู่กับเพื่อนที่บ้าน
- ไม่โกรธและทำตามโดยดี มีความสนใจที่จะไปร้านค้าใกล้ ๆ
ฉบับที่ 5 ตอบว่า
- อร่อยหมดเลย แต่ไม่ชอบรสเปรี้ยว
- สีขาว
- หอม
- ใส่ตู้เย็น
- อร่อยหมดเลย แต่ไม่ชอบรสเปรี้ยว
- สีขาว
- หอม
- ใส่ตู้เย็น
ฉบับที่ 6 ตอบว่า
- แบ่งให้เพื่อน ๆ ทานด้วยกัน
- เก็บของเล่นให้เรียบร้อย
- แบ่งให้เพื่อน ๆ ทานด้วยกัน
- เก็บของเล่นให้เรียบร้อย
สรุป
จากคำตอบในฉบับแรกในเรื่องของเล่นของเล่น ตอบว่าถ้าเกิดเล่นของเล่นพังจะนำไปซ่อมและบอกว่าถ้าเห็นน้ำไหลจะเดินไปปิดน้ำ เพราะน้ำจะหมด ในฉบับที่ 3 ที่เป็นกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้มีส่วนร่วมกับผู้ปกครองในเรื่องของการซ่อมแซมของเล่นน้องช่วยเลือกของเล่นที่พังชำรุดแล้วแยกประเภทแล้วช่วยซ่อมแซม ในเรื่องของความรู้โดยให้เด็กได้แยกแยะสี รสชาติ กลิ่น ของนม น้องแยกแยะได้ นอกจากนี้ในเรื่องของคุณธรรมน้องแสดงให้เห็นถึงความมีน้ำใจโดยบอกว่าจะแบ่งปันขนมให้เพื่อนทานด้วย
เด็กหญิงธัญชนก นามสกุล นาควิเชียร ชื่อเล่น น้องวุ้น
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ให้พ่อซ่อมให้ก่อน
- หนูจะปิดน้ำก่อน เพราะว่าเปลืองน้ำ, เปลืองเงิน
จากคำตอบในฉบับแรกในเรื่องของเล่นของเล่น ตอบว่าถ้าเกิดเล่นของเล่นพังจะนำไปซ่อมและบอกว่าถ้าเห็นน้ำไหลจะเดินไปปิดน้ำ เพราะน้ำจะหมด ในฉบับที่ 3 ที่เป็นกิจกรรมให้เด็ก ๆ ได้มีส่วนร่วมกับผู้ปกครองในเรื่องของการซ่อมแซมของเล่นน้องช่วยเลือกของเล่นที่พังชำรุดแล้วแยกประเภทแล้วช่วยซ่อมแซม ในเรื่องของความรู้โดยให้เด็กได้แยกแยะสี รสชาติ กลิ่น ของนม น้องแยกแยะได้ นอกจากนี้ในเรื่องของคุณธรรมน้องแสดงให้เห็นถึงความมีน้ำใจโดยบอกว่าจะแบ่งปันขนมให้เพื่อนทานด้วย
เด็กหญิงธัญชนก นามสกุล นาควิเชียร ชื่อเล่น น้องวุ้น
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ให้พ่อซ่อมให้ก่อน
- หนูจะปิดน้ำก่อน เพราะว่าเปลืองน้ำ, เปลืองเงิน
ฉบับที่ 2 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 3 พฤติกรรมที่แสดงออก
- ถ้ารื้อกล่องของเล่นออกมาซ่อม น้องจะถามว่าซ่อมอะไรจะช่วยหยิบของให้คุณพ่อและดูว่าคุณพ่อซ่อมอะไร ซ่อมอย่างไรก็จะขอเครื่องมือที่คุณพ่อซ่อมและขอซ่อมของเล่นด้วย
- ถ้ารื้อกล่องของเล่นออกมาซ่อม น้องจะถามว่าซ่อมอะไรจะช่วยหยิบของให้คุณพ่อและดูว่าคุณพ่อซ่อมอะไร ซ่อมอย่างไรก็จะขอเครื่องมือที่คุณพ่อซ่อมและขอซ่อมของเล่นด้วย
ฉบับที่ 4 ตอบว่า
- ทำไมถึงไม่พาไปฟิวเจอร์แต่เมื่ออธิบายให้ฟังว่าแล้วพาไปเดินเล่นหรือถีบจักรยานใกล้ ๆ
บ้าน ก็ OK.
- ตอนแรกถ้าไม่เข้าใจก็ร้องไห้เสียใจ แต่เมื่ออธิบายแล้วพาไปทำกิจกรรมอื่น ๆ OK.
- ทำไมถึงไม่พาไปฟิวเจอร์แต่เมื่ออธิบายให้ฟังว่าแล้วพาไปเดินเล่นหรือถีบจักรยานใกล้ ๆ
บ้าน ก็ OK.
- ตอนแรกถ้าไม่เข้าใจก็ร้องไห้เสียใจ แต่เมื่ออธิบายแล้วพาไปทำกิจกรรมอื่น ๆ OK.
ฉบับที่ 5 ตอบว่า
- นมนี้จืด/นมหวาน
- นมสีขาว
- หอมจัง
- เก็บไว้ในตู้เย็น
- นมนี้จืด/นมหวาน
- นมสีขาว
- หอมจัง
- เก็บไว้ในตู้เย็น
ฉบับที่ 6 ตอบว่า
- จะแบ่งให้เพื่อนกันบางคนที่สนิท,บางคนก็ไม่ให้กิน
- ช่วยคุณครูเก็บของเล่น
- จะแบ่งให้เพื่อนกันบางคนที่สนิท,บางคนก็ไม่ให้กิน
- ช่วยคุณครูเก็บของเล่น
สรุป
จากคำตอบในเรื่องของการถามเกี่ยวกับการซ่อมแซมของน้องบอกว่าถ้าของเล่นพังจะให้คุณพ่อซ่อมและในเรื่องของการประหยัดน้ำ น้องบอกว่าถ้าเห็นน้ำไหลทิ้งจะเดินไปปิดน้ำเพราะว่าเปลืองน้ำ,เปลืองเงิน ในฉบับที่ 3 ที่เป็นกิจกรรมโดยให้เด็กได้มีส่วนร่วมกับผู้ปกครองในการรื้อซ่อมแซมของเล่นถ้ารื้อกล่องของเล่นออกมาซ่อม น้องจะถามว่าซ่อมอะไรจะช่วยหยิบของให้คุณพ่อและดูว่าคุณพ่อซ่อมอะไร ซ่อมอย่างไรก็จะขอเครื่องมือที่คุณพ่อซ่อมและขอซ่อมของเล่นด้วย
ในฉบับที่ 5 ที่เป็นความรู้ให้เด็กได้แยกแยะสี รสชาติ กลิ่นของนม น้องแยกแยะได้ และในฉบับที่ 6 ที่เป็นเรื่องคุณธรรมน้องแสดงความมีน้ำใจโดยการบอกว่าขนมให้เพื่อนที่สนิทเท่านั้น บางคนก็ไม่ให้กินและถ้าเล่นของเล่นเสร็จแล้วจะช่วยคุณครูเก็บของเล่น
เด็กชายนุติเดช นามสกุล อินทร์แพง ชื่อแล่น อู
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ถ้าโตขึ้นจะไปซื้อใหม่ จะซื้อเอง
- น้องอูจะปิดเพราะกลัวน้ำหมดไม่มีใช้
จากคำตอบในเรื่องของการถามเกี่ยวกับการซ่อมแซมของน้องบอกว่าถ้าของเล่นพังจะให้คุณพ่อซ่อมและในเรื่องของการประหยัดน้ำ น้องบอกว่าถ้าเห็นน้ำไหลทิ้งจะเดินไปปิดน้ำเพราะว่าเปลืองน้ำ,เปลืองเงิน ในฉบับที่ 3 ที่เป็นกิจกรรมโดยให้เด็กได้มีส่วนร่วมกับผู้ปกครองในการรื้อซ่อมแซมของเล่นถ้ารื้อกล่องของเล่นออกมาซ่อม น้องจะถามว่าซ่อมอะไรจะช่วยหยิบของให้คุณพ่อและดูว่าคุณพ่อซ่อมอะไร ซ่อมอย่างไรก็จะขอเครื่องมือที่คุณพ่อซ่อมและขอซ่อมของเล่นด้วย
ในฉบับที่ 5 ที่เป็นความรู้ให้เด็กได้แยกแยะสี รสชาติ กลิ่นของนม น้องแยกแยะได้ และในฉบับที่ 6 ที่เป็นเรื่องคุณธรรมน้องแสดงความมีน้ำใจโดยการบอกว่าขนมให้เพื่อนที่สนิทเท่านั้น บางคนก็ไม่ให้กินและถ้าเล่นของเล่นเสร็จแล้วจะช่วยคุณครูเก็บของเล่น
เด็กชายนุติเดช นามสกุล อินทร์แพง ชื่อแล่น อู
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ถ้าโตขึ้นจะไปซื้อใหม่ จะซื้อเอง
- น้องอูจะปิดเพราะกลัวน้ำหมดไม่มีใช้
ฉบับที่ 2 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 3 พฤติกรรมที่แสดงออก
- ช่วยแยกว่าของชิ้นไหนเสีย ชิ้นที่ใช้ไม่ได้จะทิ้ง และจะเก็บของเก่าที่เก็บไว้นานแล้วก็จะเล่นไปและเล่นไม่เหมือนเดิมคือจะเล่นเป็นเรื่องและเล่นได้นานขึ้น
- ช่วยแยกว่าของชิ้นไหนเสีย ชิ้นที่ใช้ไม่ได้จะทิ้ง และจะเก็บของเก่าที่เก็บไว้นานแล้วก็จะเล่นไปและเล่นไม่เหมือนเดิมคือจะเล่นเป็นเรื่องและเล่นได้นานขึ้น
ฉบับที่ 4 ตอบว่า
- ให้ไปห้างที่อยู่ไกลบ้านแทน
- ไม่เป็นไรน้องอูจะไม่เอาของเล่น
- ให้ไปห้างที่อยู่ไกลบ้านแทน
- ไม่เป็นไรน้องอูจะไม่เอาของเล่น
ฉบับที่ 5 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 6 ไม่มีคำตอบ
สรุป
จากคำตอบในเรื่องของการเล่นของเล่นพังน้องบอกว่าพังก็พังไป ถ้าโตขึ้นจะซื้อใหม่ และซื้อเอง แต่เมื่อผู้ปกครองได้อธิบายให้ฟัง น้องแสดงพฤติกรรมในฉบับที่ 3 คือช่วยแยกว่าของชิ้นไหนเสีย ชิ้นที่ใช้ไม่ได้จะทิ้ง และจะเก็บของเก่าที่เก็บไว้นานแล้วก็จะเล่นไปและเล่นไม่เหมือนเดิมคือจะเล่นเป็นเรื่องและเล่นได้นานขึ้น
เด็กหญิงปรีชญา นามสกุล กังเจริญ ชื่อเล่น น้องแบมบู
จากคำตอบในเรื่องของการเล่นของเล่นพังน้องบอกว่าพังก็พังไป ถ้าโตขึ้นจะซื้อใหม่ และซื้อเอง แต่เมื่อผู้ปกครองได้อธิบายให้ฟัง น้องแสดงพฤติกรรมในฉบับที่ 3 คือช่วยแยกว่าของชิ้นไหนเสีย ชิ้นที่ใช้ไม่ได้จะทิ้ง และจะเก็บของเก่าที่เก็บไว้นานแล้วก็จะเล่นไปและเล่นไม่เหมือนเดิมคือจะเล่นเป็นเรื่องและเล่นได้นานขึ้น
เด็กหญิงปรีชญา นามสกุล กังเจริญ ชื่อเล่น น้องแบมบู
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ซื้อใหม่และต้องเอาไปซ่อม (เหมือนจะงงกับคำตอบ)
- หนูจะปิดน้ำถ้าปิดน้ำไม่หมดจะเปลืองน้ำ
- ซื้อใหม่และต้องเอาไปซ่อม (เหมือนจะงงกับคำตอบ)
- หนูจะปิดน้ำถ้าปิดน้ำไม่หมดจะเปลืองน้ำ
ฉบับที่ 2 ตอบว่า
- หนูก็เล่นต่อไปอีก
- ก็ไม่เล่น
- ก็ซื้อห่อเล็กไปก่อน
- หนูก็เล่นต่อไปอีก
- ก็ไม่เล่น
- ก็ซื้อห่อเล็กไปก่อน
ฉบับที่ 3 พฤติกรรมที่แสดงออก
- ช่วยหยิบส่วนที่มันหลุดมาให้ซ่อมแล้วก็ชอบถามว่าทำไมถึงได้พัง
- ช่วยหยิบส่วนที่มันหลุดมาให้ซ่อมแล้วก็ชอบถามว่าทำไมถึงได้พัง
ฉบับที่ 4 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 5 ตอบว่า
- ชอคโคแลตก็อร่อย รสจืดก็อร่อย
- สีชมพูสตรอเบอรรี่/ สีน้ำตาลชอคโคแลต / สีเขียวรสจืด
- หอมน่ากิน
- ให้ใส่ตู้เย็น
- ชอคโคแลตก็อร่อย รสจืดก็อร่อย
- สีชมพูสตรอเบอรรี่/ สีน้ำตาลชอคโคแลต / สีเขียวรสจืด
- หอมน่ากิน
- ให้ใส่ตู้เย็น
ฉบับที่ 6 ตอบว่า
- แบ่งให้เพื่อนกิน
- เก็บให้เรียบร้อย
- แบ่งให้เพื่อนกิน
- เก็บให้เรียบร้อย
สรุป
จากคำตอบในฉบับแรกที่ถามว่าถ้าของเล่นพังจะทำอย่างไร น้องบอกว่าซื้อใหม่แต่เมื่อได้ฟังคำอธิบายเกี่ยวกับการประหยัดและการดูแลของเล่นน้องเริ่มเข้าใจเหตุผลโดยการช่วยหยิบส่วนที่มันหลุดมาให้ซ่อมแล้วก็ชอบถามว่าทำไมถึงได้พัง ในฉบับที่ 5 ที่เกี่ยวกับเงื่อนไขความรู้โดยให้เด็กได้แยกแยะสี กลิ่นและรสชาติของนมน้องบอกได้และยังบอกอีกว่าวิธีการถนอมนมโดยการใส่ไว้ในตู้เย็น ในเรื่องของเงื่อนไขคุณธรรมน้องแสดงความมีน้ำใจโดยการบอกว่าจะแบ่งขนมให้เพื่อนกินและในเรื่องของการมีวินัยในการเก็บของเล่นน้องบอกว่าถ้าเล่นเสร็จแล้วต้องเก็บให้เรียบร้อย
เด็กหญิงแพรวา นามสกุล เกตพันธ์ ชื่อเล่นน้องแพรวา
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ให้คุณแม่ซ่อม
- แพรวาบอกว่าไม่ปิดให้ครูสาปิด เพราะเพื่อนไม่รอเขา
จากคำตอบในฉบับแรกที่ถามว่าถ้าของเล่นพังจะทำอย่างไร น้องบอกว่าซื้อใหม่แต่เมื่อได้ฟังคำอธิบายเกี่ยวกับการประหยัดและการดูแลของเล่นน้องเริ่มเข้าใจเหตุผลโดยการช่วยหยิบส่วนที่มันหลุดมาให้ซ่อมแล้วก็ชอบถามว่าทำไมถึงได้พัง ในฉบับที่ 5 ที่เกี่ยวกับเงื่อนไขความรู้โดยให้เด็กได้แยกแยะสี กลิ่นและรสชาติของนมน้องบอกได้และยังบอกอีกว่าวิธีการถนอมนมโดยการใส่ไว้ในตู้เย็น ในเรื่องของเงื่อนไขคุณธรรมน้องแสดงความมีน้ำใจโดยการบอกว่าจะแบ่งขนมให้เพื่อนกินและในเรื่องของการมีวินัยในการเก็บของเล่นน้องบอกว่าถ้าเล่นเสร็จแล้วต้องเก็บให้เรียบร้อย
เด็กหญิงแพรวา นามสกุล เกตพันธ์ ชื่อเล่นน้องแพรวา
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ให้คุณแม่ซ่อม
- แพรวาบอกว่าไม่ปิดให้ครูสาปิด เพราะเพื่อนไม่รอเขา
ฉบับที่ 2 ตอบว่า
- แพรวาจะเดินไปเล่นกับเพื่อน ๆ
- แพรวาจะเก็บใส่กล่องไว้
- แพรวาจะอยู่บ้านแต่คุณแม่ต้องซื้อขนมให้
- แพรวาจะเดินไปเล่นกับเพื่อน ๆ
- แพรวาจะเก็บใส่กล่องไว้
- แพรวาจะอยู่บ้านแต่คุณแม่ต้องซื้อขนมให้
ฉบับที่ 3 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 4 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 5 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 6 ตอบว่า
- จะแบ่งให้เพื่อนทาน
- เก็บเข้าที่เก็บของเล่น
- จะแบ่งให้เพื่อนทาน
- เก็บเข้าที่เก็บของเล่น
สรุป
จากคำตอบในฉบับแรกที่ถามว่าถ้าหากของเล่นที่รักพังลงไปจะทำอย่างไร น้องบอกว่าจะให้คุณแม่ซ่อมและถามต่อไปอีกว่าถ้าเห็นน้ำไหลทิ้งจะทำอย่างไรน้องบอกว่าไม่ปิดให้ครูสาปิดเพราะว่ากลัวแต่ในเรื่องของคุณธรรมน้องแสดงความมีน้ำใจโดยบอกว่าแบ่งปันขนมให้เพื่อนทานและถ้าเล่นของเล่นเสร็จแล้วต้องเก็บเข้าที่ด้วยแสดงถึงความมีวินัยในการเก็บของเล่นเข้าที่
เด็กหญิงภัทรลภา นามสกุล เขียวรัตน์ ชื่อเล่น น้องแฟนต้า
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ลูกบอกว่าถ้าได้ของเล่นมาลูกจะรักษาแต่ถ้ามันพังลูกก็เอามาให้แม่
- ถ้าลูกเห็นก๊อกน้ำเปิดอยู่ลูกจะเดินไปปิดเพราะลูกบอกว่าเดี๋ยวน้ำท่วมอ่าง
จากคำตอบในฉบับแรกที่ถามว่าถ้าหากของเล่นที่รักพังลงไปจะทำอย่างไร น้องบอกว่าจะให้คุณแม่ซ่อมและถามต่อไปอีกว่าถ้าเห็นน้ำไหลทิ้งจะทำอย่างไรน้องบอกว่าไม่ปิดให้ครูสาปิดเพราะว่ากลัวแต่ในเรื่องของคุณธรรมน้องแสดงความมีน้ำใจโดยบอกว่าแบ่งปันขนมให้เพื่อนทานและถ้าเล่นของเล่นเสร็จแล้วต้องเก็บเข้าที่ด้วยแสดงถึงความมีวินัยในการเก็บของเล่นเข้าที่
เด็กหญิงภัทรลภา นามสกุล เขียวรัตน์ ชื่อเล่น น้องแฟนต้า
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ลูกบอกว่าถ้าได้ของเล่นมาลูกจะรักษาแต่ถ้ามันพังลูกก็เอามาให้แม่
- ถ้าลูกเห็นก๊อกน้ำเปิดอยู่ลูกจะเดินไปปิดเพราะลูกบอกว่าเดี๋ยวน้ำท่วมอ่าง
ฉบับที่ 2 ตอบว่า
- ก็เล่นของที่มีอยู่ก่อนถ้าพังแล้วค่อยซื้อใหม่
- น้องแฟนต้าบอกว่าก็เก็บใส่ตะกร้าของเล่นไว้ก่อน
- น้องแฟนต้าบอกว่าไม่มีเงินก็ไม่กิน
- ก็เล่นของที่มีอยู่ก่อนถ้าพังแล้วค่อยซื้อใหม่
- น้องแฟนต้าบอกว่าก็เก็บใส่ตะกร้าของเล่นไว้ก่อน
- น้องแฟนต้าบอกว่าไม่มีเงินก็ไม่กิน
ฉบับที่ 3 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 4 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 5 ตอบว่า
- ถ้ารสที่ชอบก็จะบอกว่าอร่อยดี
- สีขาว
- หอมดี
- เวลาทานไม่หมดให้แช่ตู้เย็น
- ถ้ารสที่ชอบก็จะบอกว่าอร่อยดี
- สีขาว
- หอมดี
- เวลาทานไม่หมดให้แช่ตู้เย็น
ฉบับที่ 6 ตอบว่า
- แฟนต้าบอกจะแบ่งขนมให้เพื่อน ๆ
- ต้องเก็บเข้าที่
- แฟนต้าบอกจะแบ่งขนมให้เพื่อน ๆ
- ต้องเก็บเข้าที่
สรุป
จากคำตอบในฉบับแรกน้องเริ่มมีความรักและถนุถนอมของเล่นคือน้องบอกว่าได้ของเล่นมาลูกจะรักษาแต่ถ้ามันพังลูกก็เอามาให้แม่และถ้าเห็นน้ำไหลทิ้งก็จะเดินไปปิดเพราะลูกบอกว่าเดี๋ยวน้ำท่วมอ่าง ถ้ายังมีของเล่นที่ยังเลนได้อยู่ก็บอกว่า ก็เล่นของที่มีอยู่ก่อนถ้าพังแล้วค่อยซื้อใหม่ ในฉบับที่ 5 ที่ให้เด็กได้แยกแยะสี กลิ่น รสชาติของนมน้องแยกแยะและบอกวิธีการในการเก็บนมให้อยู่ได้นานโดยการเก็บเข้าตู้เย็น นอกจากนี้ยังแสดงถึงความมีน้ำใจโดยการบอกว่าจะแบ่งปันขนมให้เพื่อน ๆ และเมื่อเล่นของเล่นเสร็จแล้วจะต้องเก็บเข้าที่
เด็กหญิงรสกร นามสกุล ภู่จำนงค์ ชื่อเล่น น้องไนซ์
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- เอาไปให้พ่อเนกซ่อม
- ต้องปิดเดี๋ยวเปลืองน้ำและน้ำจะหมด
จากคำตอบในฉบับแรกน้องเริ่มมีความรักและถนุถนอมของเล่นคือน้องบอกว่าได้ของเล่นมาลูกจะรักษาแต่ถ้ามันพังลูกก็เอามาให้แม่และถ้าเห็นน้ำไหลทิ้งก็จะเดินไปปิดเพราะลูกบอกว่าเดี๋ยวน้ำท่วมอ่าง ถ้ายังมีของเล่นที่ยังเลนได้อยู่ก็บอกว่า ก็เล่นของที่มีอยู่ก่อนถ้าพังแล้วค่อยซื้อใหม่ ในฉบับที่ 5 ที่ให้เด็กได้แยกแยะสี กลิ่น รสชาติของนมน้องแยกแยะและบอกวิธีการในการเก็บนมให้อยู่ได้นานโดยการเก็บเข้าตู้เย็น นอกจากนี้ยังแสดงถึงความมีน้ำใจโดยการบอกว่าจะแบ่งปันขนมให้เพื่อน ๆ และเมื่อเล่นของเล่นเสร็จแล้วจะต้องเก็บเข้าที่
เด็กหญิงรสกร นามสกุล ภู่จำนงค์ ชื่อเล่น น้องไนซ์
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- เอาไปให้พ่อเนกซ่อม
- ต้องปิดเดี๋ยวเปลืองน้ำและน้ำจะหมด
ฉบับที่ 2 ตอบว่า
- เอาไว้เล่นต่อ
- เอาไปเก็บไว้ในกล่อง
- ไม่ต้องซื้อ
- เอาไว้เล่นต่อ
- เอาไปเก็บไว้ในกล่อง
- ไม่ต้องซื้อ
ฉบับที่ 3 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 4 ตอบว่า
- บอกแม่ว่าไม่ต้องไปเพราะเปลืองเดี๋ยวไม่มีตังค์ซื้อนมให้ไนซ์
- เขาไม่รู้สึกเสียใจหรือเสียดายหลังจากที่คุณแม่เล่าให้ฟังและบอกเหตุผลให้ฟังช่วงแรกเขาจะถามว่าทำไมถึงไม่ได้
- บอกแม่ว่าไม่ต้องไปเพราะเปลืองเดี๋ยวไม่มีตังค์ซื้อนมให้ไนซ์
- เขาไม่รู้สึกเสียใจหรือเสียดายหลังจากที่คุณแม่เล่าให้ฟังและบอกเหตุผลให้ฟังช่วงแรกเขาจะถามว่าทำไมถึงไม่ได้
ฉบับที่ 5 ตอบว่า
- รสชอคโคแลต หวานหอมชอคโกแลต/ รสส้ม เปรี้ยวและหวาน/ รสจืด ไม่หวานแต่มัน
- รสชอคโคแลตสีน้ำตาล/รสส้มสีส้ม/รสจืดสีขาว
- ชอคโคแลต หอมชอคโคแลต/รสส้มหอมส้ม/รสจืดไม่ได้กลิ่น
- ไว้ในตู้เย็น
- รสชอคโคแลต หวานหอมชอคโกแลต/ รสส้ม เปรี้ยวและหวาน/ รสจืด ไม่หวานแต่มัน
- รสชอคโคแลตสีน้ำตาล/รสส้มสีส้ม/รสจืดสีขาว
- ชอคโคแลต หอมชอคโคแลต/รสส้มหอมส้ม/รสจืดไม่ได้กลิ่น
- ไว้ในตู้เย็น
ฉบับที่ 6 ตอบว่า
- แบ่งให้เพื่อนกินด้วย
- เก็บของเล่นใส่กล่อง
- แบ่งให้เพื่อนกินด้วย
- เก็บของเล่นใส่กล่อง
สรุป
จากคำตอบในเรื่องการดูแลรักษาของเล่นน้องบอกว่าต้องดูแลรักษาโดยการเก็บใส่กล่องเพื่อเอาไว้เล่นต่อแสดงว่าน้องเริ่มมีความพอประมาณในการเล่นและการดูแลรักษาของเล่นและในฉบับที่ 3 ที่เกี่ยวกับเรื่องความมีเหตุผลโดยมีคำถามว่าในช่วงที่น้ำมันแพงเราจำเป็นต้องประหยัดเงินโดยการลดความจำเป็นในการเดินทางไปเที่ยวที่ไกล ๆ บ้าง หลังจากที่คุณแม่อธิบายเหตุผลให้ฟังน้องบอกแม่ว่าไม่ต้องไปเพราะเปลืองเดี๋ยวไม่มีตังค์ซื้อนมให้ไนซ์และบอกว่าเขาไม่รู้สึกเสียใจหรือเสียดายหลังจากที่คุณแม่เล่าให้ฟังและบอกเหตุผลให้ฟังช่วงแรกเขาจะถามว่าทำไมถึงไม่ได้ นอกจากนี้ในเรื่องของคุณธรรมน้องแสดงความมีน้ำใจโดยบอกว่าจะแบ่งปันขนมให้เพื่อนกินด้วย
เด็กหญิงศรันย์พร นามสกุล แดงรักษ์ ชื่อเล่น น้องน้ำใส
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ร้องไห้และรอให้พ่อกับแม่ซื้อให้
- ปิดน้ำเดี๋ยวน้ำหมด เปลืองเงินพ่อกับแม่
จากคำตอบในเรื่องการดูแลรักษาของเล่นน้องบอกว่าต้องดูแลรักษาโดยการเก็บใส่กล่องเพื่อเอาไว้เล่นต่อแสดงว่าน้องเริ่มมีความพอประมาณในการเล่นและการดูแลรักษาของเล่นและในฉบับที่ 3 ที่เกี่ยวกับเรื่องความมีเหตุผลโดยมีคำถามว่าในช่วงที่น้ำมันแพงเราจำเป็นต้องประหยัดเงินโดยการลดความจำเป็นในการเดินทางไปเที่ยวที่ไกล ๆ บ้าง หลังจากที่คุณแม่อธิบายเหตุผลให้ฟังน้องบอกแม่ว่าไม่ต้องไปเพราะเปลืองเดี๋ยวไม่มีตังค์ซื้อนมให้ไนซ์และบอกว่าเขาไม่รู้สึกเสียใจหรือเสียดายหลังจากที่คุณแม่เล่าให้ฟังและบอกเหตุผลให้ฟังช่วงแรกเขาจะถามว่าทำไมถึงไม่ได้ นอกจากนี้ในเรื่องของคุณธรรมน้องแสดงความมีน้ำใจโดยบอกว่าจะแบ่งปันขนมให้เพื่อนกินด้วย
เด็กหญิงศรันย์พร นามสกุล แดงรักษ์ ชื่อเล่น น้องน้ำใส
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ร้องไห้และรอให้พ่อกับแม่ซื้อให้
- ปิดน้ำเดี๋ยวน้ำหมด เปลืองเงินพ่อกับแม่
ฉบับที่ 2 ตอบว่า
- เล่นต่อ
- เอาไว้ก่อนไม่ให้ใคร
- ไม่เอา
- เล่นต่อ
- เอาไว้ก่อนไม่ให้ใคร
- ไม่เอา
ฉบับที่ 3 พฤติกรรมที่แสดงออก
- ของเล่นที่เสียจะบอกคุณพ่อให้ซ่อมและให้ซื้อใหม่แบบว่าเสียแล้วเสียไป ซื้อใหม่ก็ได้ คุณพ่อบอกว่าไม่มีเงินจะต้องทำงานก่อนจะตอบค่ะ และก็ไม่สนใจทำกิจกรรมเท่าใดนักตอนรื้อของเล่นไม่ได้รื้อแต่เทเลยครับ
- ของเล่นที่เสียจะบอกคุณพ่อให้ซ่อมและให้ซื้อใหม่แบบว่าเสียแล้วเสียไป ซื้อใหม่ก็ได้ คุณพ่อบอกว่าไม่มีเงินจะต้องทำงานก่อนจะตอบค่ะ และก็ไม่สนใจทำกิจกรรมเท่าใดนักตอนรื้อของเล่นไม่ได้รื้อแต่เทเลยครับ
ฉบับที่ 4 ตอบว่า
- ถ้าน้ำมันราคาแพงก็ไม่ต้องใช้ซิคะแม่
- สิ่งของอะไรที่ใช้เงินซื้อราคาแพงทั้งหมด
- ถ้าน้ำมันราคาแพงก็ไม่ต้องใช้ซิคะแม่
- สิ่งของอะไรที่ใช้เงินซื้อราคาแพงทั้งหมด
ฉบับที่ 5 ตอบว่า
- อร่อยกินได้
- ชอคโคแลต – สีน้ำตาล ไวตามิ้น – สีขาว
- กินได้
- ไว้ในตู้เย็น
- อร่อยกินได้
- ชอคโคแลต – สีน้ำตาล ไวตามิ้น – สีขาว
- กินได้
- ไว้ในตู้เย็น
ฉบับที่ 6 ตอบว่า
- แบ่งให้
- เก็บหรือให้คุณพ่อกับคุณแม่เก็บ
- แบ่งให้
- เก็บหรือให้คุณพ่อกับคุณแม่เก็บ
สรุป
จากคำตอบในฉบับแรกที่เกี่ยวกับเรื่องการดูแลรักษาของเล่นน้องบอกว่าถ้าพังจะร้องไห้รอให้พ่อกับแม่ซื้อและฉบับที่ 3 ที่เป็นกิจกรรมให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการซ่อมแซมของเล่นกับผู้ปกครองของเล่นที่เสียจะบอกคุณพ่อให้ซ่อมและให้ซื้อใหม่แบบว่าเสียแล้วเสียไป ซื้อใหม่ก็ได้ คุณพ่อบอกว่าไม่มีเงินจะต้องทำงานก่อนจะตอบค่ะ และก็ไม่สนใจทำกิจกรรมเท่าใดนักแสดงให้เห็นว่าน้องยังไม่สามารถแก้ปัญหาในเรื่องการดูแลรักษาของเล่น แต่ในเรื่องของการประหยัดน้ำน้องบอกว่าถ้าเห็นน้ำไหลต้องปิดน้ำเดี๋ยวน้ำหมด เปลืองเงินพ่อกับแม่ นอกจากนี้ในเรื่องของคุณธรรมน้องแสดงความมีน้ำใจโดยการบอกครูว่าจะแบ่งของให้เพื่อน
เด็กชายศุภกฤต นามสกุล ประกายสันติ ชื่อเล่น น้องกฤต
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ไม่มีเล่น
- ไปปิด เพราะเสียดาย
จากคำตอบในฉบับแรกที่เกี่ยวกับเรื่องการดูแลรักษาของเล่นน้องบอกว่าถ้าพังจะร้องไห้รอให้พ่อกับแม่ซื้อและฉบับที่ 3 ที่เป็นกิจกรรมให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการซ่อมแซมของเล่นกับผู้ปกครองของเล่นที่เสียจะบอกคุณพ่อให้ซ่อมและให้ซื้อใหม่แบบว่าเสียแล้วเสียไป ซื้อใหม่ก็ได้ คุณพ่อบอกว่าไม่มีเงินจะต้องทำงานก่อนจะตอบค่ะ และก็ไม่สนใจทำกิจกรรมเท่าใดนักแสดงให้เห็นว่าน้องยังไม่สามารถแก้ปัญหาในเรื่องการดูแลรักษาของเล่น แต่ในเรื่องของการประหยัดน้ำน้องบอกว่าถ้าเห็นน้ำไหลต้องปิดน้ำเดี๋ยวน้ำหมด เปลืองเงินพ่อกับแม่ นอกจากนี้ในเรื่องของคุณธรรมน้องแสดงความมีน้ำใจโดยการบอกครูว่าจะแบ่งของให้เพื่อน
เด็กชายศุภกฤต นามสกุล ประกายสันติ ชื่อเล่น น้องกฤต
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ไม่มีเล่น
- ไปปิด เพราะเสียดาย
ฉบับที่ 2 ตอบว่า
- ก็นำมาเล่น
- ก็ไม่เล่น
- ก็ไม่เอา
- ก็นำมาเล่น
- ก็ไม่เล่น
- ก็ไม่เอา
ฉบับที่ 3 พฤติกรรมที่แสดงออก
- ช่วยซ่อมแซมของเล่น โดยจะพยายามถามว่าของเล่นชิ้นนี้เป็นอะไร ชิ้นนี้เป็นอะไร และช่วยหยิบของที่พ่อต้องการใช้และช่วยเก็บของเข้าที่เดิม
- ช่วยซ่อมแซมของเล่น โดยจะพยายามถามว่าของเล่นชิ้นนี้เป็นอะไร ชิ้นนี้เป็นอะไร และช่วยหยิบของที่พ่อต้องการใช้และช่วยเก็บของเข้าที่เดิม
ฉบับที่ 4 ตอบว่า
- ก็ไม่ไป
- เพราะน้ำมันแพง เรามีเงินไม่มาก เราก็ไม่มีก็จ่ายค่าน้ำมัน
- ก็ไม่ไป
- เพราะน้ำมันแพง เรามีเงินไม่มาก เราก็ไม่มีก็จ่ายค่าน้ำมัน
ฉบับที่ 5 ตอบว่า
- นมจืดไม่หวาน / นมเปรี้ยว รสเปรี้ยว/ รสหวาน/หวาน
- รสสตรอเบอรรี่ ชมพู / นมเปรี้ยวมีสีส้ม / รสหวานกับรสจืดมีสีขาว
- รสจืดมีกลิ่นจืด ๆ รสสตรอเบอรี่มีกลิ่นหอม ๆ นมเปรี้ยวมีกลิ่นเปรี้ยว ๆ
- นมจืดไม่หวาน / นมเปรี้ยว รสเปรี้ยว/ รสหวาน/หวาน
- รสสตรอเบอรรี่ ชมพู / นมเปรี้ยวมีสีส้ม / รสหวานกับรสจืดมีสีขาว
- รสจืดมีกลิ่นจืด ๆ รสสตรอเบอรี่มีกลิ่นหอม ๆ นมเปรี้ยวมีกลิ่นเปรี้ยว ๆ
ฉบับที่ 6
- แบ่งให้เพื่อนครับ
- เอาไปเก็บครับ
- แบ่งให้เพื่อนครับ
- เอาไปเก็บครับ
สรุป
จากคำตอบในฉบับที่ 1 เป็นเรื่องเกี่ยวกับการประหยัดน้ำและการดูแลรักษาของเล่นน้องตอบว่าถ้าของเล่นพังก็ไม่มีเล่น ส่วนในเรื่องของการประหยัดน้ำน้องบอกว่าต้องไปปิด เพราะเสียดายน้ำและในฉบับที่ 3 ที่เป็นกิจกรรมให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการซ่อมแซมของเล่นร่วมกับผู้ปกครองน้องช่วยซ่อมแซมของเล่น โดยจะพยายามถามว่าของเล่นชิ้นนี้เป็นอะไร ชิ้นนี้เป็นอะไร และช่วยหยิบของที่พ่อต้องการใช้และช่วยเก็บของเข้าที่เดิม ส่วนในฉบับที่ 5 ที่เกี่ยวกับเรื่องการแยกแยะสี กลิ่นและรสชาติของนมน้องแยกแยะได้พร้อมทั้งบอกว่าถ้ามีขนมจะแบ่งให้เพื่อทานด้วย
เด็กชายสรพัศว์ นามสกุล สิริภาคยกุล ชื่อเล่น น้องไอคิว
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ให้ป๊ะ(พ่อ)ซ่อมให้ เช่น สกู๊ตเตอร์จักรยาน
- เดินไปปิดเอง เพราะมันล้นและเปลืองน้ำ
จากคำตอบในฉบับที่ 1 เป็นเรื่องเกี่ยวกับการประหยัดน้ำและการดูแลรักษาของเล่นน้องตอบว่าถ้าของเล่นพังก็ไม่มีเล่น ส่วนในเรื่องของการประหยัดน้ำน้องบอกว่าต้องไปปิด เพราะเสียดายน้ำและในฉบับที่ 3 ที่เป็นกิจกรรมให้เด็กได้มีส่วนร่วมในการซ่อมแซมของเล่นร่วมกับผู้ปกครองน้องช่วยซ่อมแซมของเล่น โดยจะพยายามถามว่าของเล่นชิ้นนี้เป็นอะไร ชิ้นนี้เป็นอะไร และช่วยหยิบของที่พ่อต้องการใช้และช่วยเก็บของเข้าที่เดิม ส่วนในฉบับที่ 5 ที่เกี่ยวกับเรื่องการแยกแยะสี กลิ่นและรสชาติของนมน้องแยกแยะได้พร้อมทั้งบอกว่าถ้ามีขนมจะแบ่งให้เพื่อทานด้วย
เด็กชายสรพัศว์ นามสกุล สิริภาคยกุล ชื่อเล่น น้องไอคิว
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ให้ป๊ะ(พ่อ)ซ่อมให้ เช่น สกู๊ตเตอร์จักรยาน
- เดินไปปิดเอง เพราะมันล้นและเปลืองน้ำ
ฉบับที่ 2 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 3 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 4 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 5 ตอบว่า
- มีรสชาติต่างกัน
- มีสีต่างกัน
- มีกลิ่นต่างกัน
- เก็บใส่ตู้เย็น
- มีรสชาติต่างกัน
- มีสีต่างกัน
- มีกลิ่นต่างกัน
- เก็บใส่ตู้เย็น
ฉบับที่ 6 ตอบว่า
- น้องตอบว่าก็จะแบ่งเพื่อนและยังเล่นด้วยกัน
- น้องตอบว่าจะรักษาเล่นเบา ๆ และเก็บเข้าที่
- น้องตอบว่าก็จะแบ่งเพื่อนและยังเล่นด้วยกัน
- น้องตอบว่าจะรักษาเล่นเบา ๆ และเก็บเข้าที่
สรุป
จากคำตอบในฉบับแรกที่ถามว่าถ้าของเล่นที่รักพังจะทำอย่างไรน้องบอกว่าให้ป๊ะ(พ่อ)ซ่อมให้ เช่น สกู๊ตเตอร์จักรยานและถ้าเห็นน้ำเปิดอยู่ก็จะเดินเดินไปปิดเอง เพราะมันล้นและเปลืองน้ำ ในฉบับที่ 5 เกี่ยวกับเงื่อนไขความรู้เรื่องการแยกแยะสี กลิ่นและรสชาติของนมน้องบอกได้และยังบอกอีกว่าต้องเก็บเข้าตู้เย็นถึงจะเก็บได้นานพร้อมทั้งยังบอกอีกว่าถ้ามีขนมจะแบ่งให้เพื่อนทานและจะเล่นของเล่นกับเพื่อน
เด็กหญิงสวิชญา นามสกุล ศรีพลอย ชื่อเล่น น้องต้นข้าว
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- หนูจะดูแลรักษาไว้ดี ๆ หนูจะเก็บของเล่นเอาไว้ดูไม่เอาไปทิ้ง
- หนูจะปิดก๊อกน้ำเพราะเดี๋ยวน้ำหมดและไม่มีเอาไว้ใช้อาบน้ำ ฯลฯ ช่วยให้แม่จ่ายค่าน้ำน้อยลง
จากคำตอบในฉบับแรกที่ถามว่าถ้าของเล่นที่รักพังจะทำอย่างไรน้องบอกว่าให้ป๊ะ(พ่อ)ซ่อมให้ เช่น สกู๊ตเตอร์จักรยานและถ้าเห็นน้ำเปิดอยู่ก็จะเดินเดินไปปิดเอง เพราะมันล้นและเปลืองน้ำ ในฉบับที่ 5 เกี่ยวกับเงื่อนไขความรู้เรื่องการแยกแยะสี กลิ่นและรสชาติของนมน้องบอกได้และยังบอกอีกว่าต้องเก็บเข้าตู้เย็นถึงจะเก็บได้นานพร้อมทั้งยังบอกอีกว่าถ้ามีขนมจะแบ่งให้เพื่อนทานและจะเล่นของเล่นกับเพื่อน
เด็กหญิงสวิชญา นามสกุล ศรีพลอย ชื่อเล่น น้องต้นข้าว
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- หนูจะดูแลรักษาไว้ดี ๆ หนูจะเก็บของเล่นเอาไว้ดูไม่เอาไปทิ้ง
- หนูจะปิดก๊อกน้ำเพราะเดี๋ยวน้ำหมดและไม่มีเอาไว้ใช้อาบน้ำ ฯลฯ ช่วยให้แม่จ่ายค่าน้ำน้อยลง
ฉบับที่ 2 ตอบว่า
- หนูจะดีใจและแม่ก็ไม่ต้องซื้อของเล่นมาให้ใหม่จะได้ไม่เปลืองเงิน
- หนูจะเอาไปเก็บไว้ที่เดิม
- หนูเสียใจและหนูจะวิ่งไปขอเงินพ่อกับแม่มาซื้อขนม
- หนูจะดีใจและแม่ก็ไม่ต้องซื้อของเล่นมาให้ใหม่จะได้ไม่เปลืองเงิน
- หนูจะเอาไปเก็บไว้ที่เดิม
- หนูเสียใจและหนูจะวิ่งไปขอเงินพ่อกับแม่มาซื้อขนม
ฉบับที่ 3 พฤติกรรมที่แสดงออก
- ช่วยหยิบของเล่นที่พังแล้ว เอามาให้พ่อกับแม่ซ่อมแซม
- ช่วยหยิบของเล่นที่พังแล้ว เอามาให้พ่อกับแม่ซ่อมแซม
ฉบับที่ 4 ตอบว่า
- รอให้น้ำมันราคาถูกกว่านี้ก่อนแล้วค่อยไปเที่ยวกัน
- เสียใจที่ไม่ได้ไปเที่ยว
- รอให้น้ำมันราคาถูกกว่านี้ก่อนแล้วค่อยไปเที่ยวกัน
- เสียใจที่ไม่ได้ไปเที่ยว
ฉบับที่ 5 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 6
- หนูจะแบ่งขนมให้เพื่อนทาน เพราะเราเป็นเพื่อนกันมีอะไรก็แบ่งปันกัน
- หนูจะเอาของเล่นไปเก็บไว้ที่เดิม
- หนูจะแบ่งขนมให้เพื่อนทาน เพราะเราเป็นเพื่อนกันมีอะไรก็แบ่งปันกัน
- หนูจะเอาของเล่นไปเก็บไว้ที่เดิม
สรุป
ในฉบับที่ 1 มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการดูแลรักษาของเล่นและการปิดน้ำน้องบอกว่าหนูจะดูแลรักษาไว้ดี ๆ หนูจะเก็บของเล่นเอาไว้ดูไม่เอาไปทิ้งและถ้าเห็นน้ำเปิดทิ้งหนูจะปิดก๊อกน้ำเพราะเดี๋ยวน้ำหมดและไม่มีเอาไว้ใช้อาบน้ำ ฯลฯ ช่วยให้แม่จ่ายค่าน้ำน้อยลง และในฉบับที่ 3 ที่มีกิจกรรมให้เด็กได้มีส่วนร่วมกับผู้ปกครองในการซ่อมแซมของเล่นคือช่วยหยิบของเล่นที่พังแล้ว เอามาให้พ่อกับแม่ซ่อมแซม ในฉบับที่ 4 มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเรื่องความมีเหตุผลเมื่อคุณแม่อธิบายเรื่องราวให้ฟังน้องบอกว่ารอให้น้ำมันราคาถูกกว่านี้ก่อนแล้วค่อยไปเที่ยวกันก็ได้ ในฉบับที่ 6 โดยมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเงื่อนไขความรู้น้องบอกว่าถ้าหนูจะแบ่งขนมให้เพื่อนทาน เพราะเราเป็นเพื่อนกันมีอะไรก็แบ่งปันกันและยังแสดงถึงความมีวินัยในการเก็บของเล่นเข้าที่โดยบอกว่าหนูจะเอาของเล่นไปเก็บไว้ที่เดิม
เด็กหญิงอนัญญา นามสกุล พรภัทรา ชื่อเล่น น้องชีส
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ต้องซ่อมหรือให้แม่ซ่อมก่อนและถ้าซ่อมไม่ได้แล้วก็ทิ้งหรือขายและซื้อให้ใหม่เพราะจะประหยัดเงินช่วยแม่ เพราะแม่ไม่มีเงิน
- ปิดน้ำเพราะต้องประหยัดน้ำช่วยแม่เพราะหนูรักแม่ เพราะแม่หาเงินได้ไม่มากหนูสงสารแม่ (แต่บางครั้งเขาจะลืมปิดน้ำ)
ในฉบับที่ 1 มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการดูแลรักษาของเล่นและการปิดน้ำน้องบอกว่าหนูจะดูแลรักษาไว้ดี ๆ หนูจะเก็บของเล่นเอาไว้ดูไม่เอาไปทิ้งและถ้าเห็นน้ำเปิดทิ้งหนูจะปิดก๊อกน้ำเพราะเดี๋ยวน้ำหมดและไม่มีเอาไว้ใช้อาบน้ำ ฯลฯ ช่วยให้แม่จ่ายค่าน้ำน้อยลง และในฉบับที่ 3 ที่มีกิจกรรมให้เด็กได้มีส่วนร่วมกับผู้ปกครองในการซ่อมแซมของเล่นคือช่วยหยิบของเล่นที่พังแล้ว เอามาให้พ่อกับแม่ซ่อมแซม ในฉบับที่ 4 มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเรื่องความมีเหตุผลเมื่อคุณแม่อธิบายเรื่องราวให้ฟังน้องบอกว่ารอให้น้ำมันราคาถูกกว่านี้ก่อนแล้วค่อยไปเที่ยวกันก็ได้ ในฉบับที่ 6 โดยมีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเงื่อนไขความรู้น้องบอกว่าถ้าหนูจะแบ่งขนมให้เพื่อนทาน เพราะเราเป็นเพื่อนกันมีอะไรก็แบ่งปันกันและยังแสดงถึงความมีวินัยในการเก็บของเล่นเข้าที่โดยบอกว่าหนูจะเอาของเล่นไปเก็บไว้ที่เดิม
เด็กหญิงอนัญญา นามสกุล พรภัทรา ชื่อเล่น น้องชีส
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ต้องซ่อมหรือให้แม่ซ่อมก่อนและถ้าซ่อมไม่ได้แล้วก็ทิ้งหรือขายและซื้อให้ใหม่เพราะจะประหยัดเงินช่วยแม่ เพราะแม่ไม่มีเงิน
- ปิดน้ำเพราะต้องประหยัดน้ำช่วยแม่เพราะหนูรักแม่ เพราะแม่หาเงินได้ไม่มากหนูสงสารแม่ (แต่บางครั้งเขาจะลืมปิดน้ำ)
ฉบับที่ 2 ตอบว่า
- เก็บไว้ค่ะแม่
- ไปให้คนอื่น
- ไม่เอาจะประหยัดช่วยแม่
- เก็บไว้ค่ะแม่
- ไปให้คนอื่น
- ไม่เอาจะประหยัดช่วยแม่
ฉบับที่ 3 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 4 ตอบว่า
- อยู่บ้านไม่ไปก็ได้ ตอนไหนแม่มีเงินค่อยกันก็ได้
- ไม่เป็นไรค่ะแม่ หนูจะประหยัดเงินช่วยแม่(ในคำพูดเขาว่าอย่างนั้น)
- อยู่บ้านไม่ไปก็ได้ ตอนไหนแม่มีเงินค่อยกันก็ได้
- ไม่เป็นไรค่ะแม่ หนูจะประหยัดเงินช่วยแม่(ในคำพูดเขาว่าอย่างนั้น)
ฉบับที่ 5
- นมเปรี้ยวมันเปรี้ยว นมของหนูมันรสวนิลา
- สีขาวค่ะแม่
- หอม ๆ
- เก็บไว้ในตู้เย็นหรือปิดฝาให้แน่นเลยค่ะแม่
- นมเปรี้ยวมันเปรี้ยว นมของหนูมันรสวนิลา
- สีขาวค่ะแม่
- หอม ๆ
- เก็บไว้ในตู้เย็นหรือปิดฝาให้แน่นเลยค่ะแม่
ฉบับที่ 6
- แบ่งให้เพื่อนกินด้วยกันค่ะแม่
- เก็บให้เรียบร้อยค่ะแม่แล้วนำไปนั่งอยู่กับที่
- แบ่งให้เพื่อนกินด้วยกันค่ะแม่
- เก็บให้เรียบร้อยค่ะแม่แล้วนำไปนั่งอยู่กับที่
สรุป
ในฉบับที่ 1 มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ การดูแลรักษาของเล่นโดยมีคำถามว่าถ้าของเล่นที่รักพังจะทำอย่างไรน้องบอกว่า ต้องซ่อมหรือให้แม่ซ่อมก่อนและถ้าซ่อมไม่ได้แล้วก็ทิ้งหรือขายและซื้อให้ใหม่เพราะจะประหยัดเงินช่วยแม่ เพราะแม่ไม่มีเงินและถ้าเห็นน้ำไหลทิ้งจะทำอย่างไรน้องบอกว่าปิดน้ำเพราะต้องประหยัดน้ำช่วยแม่เพราะหนูรักแม่ เพราะแม่หาเงินได้ไม่มากหนูสงสารแม่ (แต่บางครั้งเขาจะลืมปิดน้ำ) ส่วนในฉบับที่ 4 ที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับความมีเหตุผลหลังจากที่ได้ฟังคำอธิบายเรื่องการประหยัดน้ำมันน้องบอกว่าอยู่บ้านไม่ไปก็ได้ ตอนไหนแม่มีเงินค่อยกันก็ได้
ไม่เป็นไรค่ะแม่ หนูจะประหยัดเงินช่วยแม่นอกจากนี้ในฉบับที่ 5 ที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเงื่อนไขความรู้โดยให้เด็กได้แยกแยะสี กลิ่นและรสชาติของนมน้องแยกแยะได้พร้อมทั้งยังบอกว่าต้อง เก็บนมไว้ในตู้เย็นหรือปิดฝาให้แน่นเลย และถ้ามีขนมจะแบ่งให้เพื่อนทาน
เด็กชายไอดิน นามสกุล คล้ายเหมือน ชื่อเล่น สาม
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ถ้ายังเล่นได้ก็เล่นชิ้นนี้ต่อไปไม่ซื้อใหม่
- เก็บไว้ก่อน วันหลังจะเอามาเล่นใหม่
- หนูก็ขอเงินคุณพ่อคุณแม่
ในฉบับที่ 1 มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับ การดูแลรักษาของเล่นโดยมีคำถามว่าถ้าของเล่นที่รักพังจะทำอย่างไรน้องบอกว่า ต้องซ่อมหรือให้แม่ซ่อมก่อนและถ้าซ่อมไม่ได้แล้วก็ทิ้งหรือขายและซื้อให้ใหม่เพราะจะประหยัดเงินช่วยแม่ เพราะแม่ไม่มีเงินและถ้าเห็นน้ำไหลทิ้งจะทำอย่างไรน้องบอกว่าปิดน้ำเพราะต้องประหยัดน้ำช่วยแม่เพราะหนูรักแม่ เพราะแม่หาเงินได้ไม่มากหนูสงสารแม่ (แต่บางครั้งเขาจะลืมปิดน้ำ) ส่วนในฉบับที่ 4 ที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับความมีเหตุผลหลังจากที่ได้ฟังคำอธิบายเรื่องการประหยัดน้ำมันน้องบอกว่าอยู่บ้านไม่ไปก็ได้ ตอนไหนแม่มีเงินค่อยกันก็ได้
ไม่เป็นไรค่ะแม่ หนูจะประหยัดเงินช่วยแม่นอกจากนี้ในฉบับที่ 5 ที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเงื่อนไขความรู้โดยให้เด็กได้แยกแยะสี กลิ่นและรสชาติของนมน้องแยกแยะได้พร้อมทั้งยังบอกว่าต้อง เก็บนมไว้ในตู้เย็นหรือปิดฝาให้แน่นเลย และถ้ามีขนมจะแบ่งให้เพื่อนทาน
เด็กชายไอดิน นามสกุล คล้ายเหมือน ชื่อเล่น สาม
ฉบับที่ 1 ตอบว่า
- ถ้ายังเล่นได้ก็เล่นชิ้นนี้ต่อไปไม่ซื้อใหม่
- เก็บไว้ก่อน วันหลังจะเอามาเล่นใหม่
- หนูก็ขอเงินคุณพ่อคุณแม่
ฉบับที่ 2 ตอบว่า
- พังก็พังไปซิ หนูก็ซื้อใหม่
- หนูเห็นหนูก็ปิดก๊อกน้ำ เพราะถ้าไม่ปิดก็เปลืองน้ำ
- พังก็พังไปซิ หนูก็ซื้อใหม่
- หนูเห็นหนูก็ปิดก๊อกน้ำ เพราะถ้าไม่ปิดก็เปลืองน้ำ
ฉบับที่ 3 พฤติกรรมที่แสดงออก
- ลูกจะรู้สึกตื่นเต้นมากเหมือนกับว่าได้ของเล่นชิ้นใหม่ เพราะของเล่นบางชิ้นไม่เสียหายมากนักแต่จะเก็บไว้นานแล้ว แต่ลูกก็จะจำได้หมดทุกชิ้นว่าเป็นลูก ก็เอาไปทำความสะอาดเองอย่างเช่น รถถ้าล้อหลุดลูกก็จะเอามาใส่เองเพราะเคยเล่นแล้วเลยจำได้
- ลูกจะรู้สึกตื่นเต้นมากเหมือนกับว่าได้ของเล่นชิ้นใหม่ เพราะของเล่นบางชิ้นไม่เสียหายมากนักแต่จะเก็บไว้นานแล้ว แต่ลูกก็จะจำได้หมดทุกชิ้นว่าเป็นลูก ก็เอาไปทำความสะอาดเองอย่างเช่น รถถ้าล้อหลุดลูกก็จะเอามาใส่เองเพราะเคยเล่นแล้วเลยจำได้
ฉบับที่ 4 ไม่มีคำตอบ
ฉบับที่ 5 ตอบว่า
- ชอบทุกรสชาติที่ชิมและลูกก็อยากดื่มนมทุกรสที่ลูกจะได้ชิม
- กลิ่นหอมมากและจะถามว่าใส่อะไรลงไปทำไมนมถึงมีกลิ่นหอม
- ชอบทุกรสชาติที่ชิมและลูกก็อยากดื่มนมทุกรสที่ลูกจะได้ชิม
- กลิ่นหอมมากและจะถามว่าใส่อะไรลงไปทำไมนมถึงมีกลิ่นหอม
ฉบับที่ 6 ตอบว่า
- หนูก็แบ่งขนมให้เพื่อนให้เพื่อนเพราะเราเป็นเพื่อนกันเวลาเพื่อนมีขนมเพื่อนก็เคยแบ่งให้หนูกิน
- เล่นเสร็จแล้วต้องเก็บเข้าที่เหมือนกันเพราะว่าจะได้เรียบร้อย
สรุป
- หนูก็แบ่งขนมให้เพื่อนให้เพื่อนเพราะเราเป็นเพื่อนกันเวลาเพื่อนมีขนมเพื่อนก็เคยแบ่งให้หนูกิน
- เล่นเสร็จแล้วต้องเก็บเข้าที่เหมือนกันเพราะว่าจะได้เรียบร้อย
สรุป
จากคำตอบในฉบับที่ 1 น้องบอกว่าถ้าของรักพังก็เล่นไปก่อนถ้ายังเล่นได้ก็เล่นชิ้นนี้ต่อไปไม่ซื้อใหม่และถ้าพังลงหนูก็ขอเงินคุณพ่อคุณแม่ แต่ในฉบับที่ 2 น้องบอกว่าพังก็พังไปซื้อใหม่ แสดงให้เห็นว่าน้องยังไม่มีทักษะในการแก้ปัญหาในเรื่องของการดูแลรักษาของเล่น ส่วนในฉบับ
ที่ 3 มีกิจกรรมให้เด็กได้มีส่วนร่วมกับผู้ปกครองในการดูแลรักษาของเล่นน้องแสดงพฤติกรรมดังนี้ คือ รู้สึกตื่นเต้นมากเหมือนกับว่าได้ของเล่นชิ้นใหม่ เพราะของเล่นบางชิ้นไม่เสียหายมากนักแต่จะเก็บไว้นานแล้ว แต่ก็จะจำได้หมดทุกชิ้นว่าเป็นของตัวเอง ก็เอาไปทำความสะอาดเองอย่างเช่น รถถ้าล้อหลุดก็จะเอามาใส่เองเพราะเคยเล่นแล้วเลยจำได้ ส่วนในฉบับที่ 5 มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการแยกแยะสี กลิ่นและรสชาติของนมน้องบอกได้ นอกจากนี้ในฉบับที่ 6 ที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเงื่อนไขคุณธรรมน้องแสดงความมีน้ำใจโดยบอกว่าหนูก็แบ่งขนมให้เพื่อนให้เพื่อนเพราะเราเป็นเพื่อนกันเวลาเพื่อนมีขนมเพื่อนก็เคยแบ่งให้หนูกินและแสดงความมีวินัยในการเล่นของเล่นโดยบอกว่าถ้าเล่นเสร็จแล้วต้องเก็บเข้าที่เหมือนกันเพราะว่าจะได้เรียบร้อย
ที่ 3 มีกิจกรรมให้เด็กได้มีส่วนร่วมกับผู้ปกครองในการดูแลรักษาของเล่นน้องแสดงพฤติกรรมดังนี้ คือ รู้สึกตื่นเต้นมากเหมือนกับว่าได้ของเล่นชิ้นใหม่ เพราะของเล่นบางชิ้นไม่เสียหายมากนักแต่จะเก็บไว้นานแล้ว แต่ก็จะจำได้หมดทุกชิ้นว่าเป็นของตัวเอง ก็เอาไปทำความสะอาดเองอย่างเช่น รถถ้าล้อหลุดก็จะเอามาใส่เองเพราะเคยเล่นแล้วเลยจำได้ ส่วนในฉบับที่ 5 มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการแยกแยะสี กลิ่นและรสชาติของนมน้องบอกได้ นอกจากนี้ในฉบับที่ 6 ที่มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับเงื่อนไขคุณธรรมน้องแสดงความมีน้ำใจโดยบอกว่าหนูก็แบ่งขนมให้เพื่อนให้เพื่อนเพราะเราเป็นเพื่อนกันเวลาเพื่อนมีขนมเพื่อนก็เคยแบ่งให้หนูกินและแสดงความมีวินัยในการเล่นของเล่นโดยบอกว่าถ้าเล่นเสร็จแล้วต้องเก็บเข้าที่เหมือนกันเพราะว่าจะได้เรียบร้อย
สรุปผลโครงการจุลสารผู้ปกครองสร้างลูกให้เก่งดี มี สุขของเด็กอนุบาล ห้อง 1/2
ฉบับที่ 1 ภาพรวมและเนื้อหาสาระรวมของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ในฉบับนี้ได้รวบรวมเนื้อหาสาระที่กล่าวถึงภาพรวมของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและในกิจกรรมท้ายบทโดยมีคำถามที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาของเล่นร้อยละ ..... บอกว่าถ้าของเล่นพังจะให้พ่อกับแม่ซ่อมหรือเล่นให้พังก่อนนำไปทิ้งและซื้อใหม่ส่วนร้อยละ ........บอกว่าพังก็พังไปเดี๋ยวค่อยซื้อใหม่ จากคำตอบแสดงให้เห็นว่าเด็กส่วนมากเริ่มมีทักษะในการแก้ปัญหาคือรู้ว่าตนเองยังซ่อมไม่ได้ก็จะนำไปให้พ่อกับแม่ซ่อม นอกจากนี้ยังมีคำถามว่าถ้าเห็นน้ำไหลทิ้งจะทำอย่างไร ร้อยละ.........ตอบว่าจะเดินไปปิดเพราะช่วยแม่ประหยัดน้ำเดี๋ยวน้ำหมด ร้อยละ.......บอกว่าไม่ปิดให้ครูปิดเพราะเดี๋ยวไปไม่ทันเพื่อน แสดงให้เห็นว่าเด็กเริ่มมีความเข้าใจในเรื่องของการประหยัดน้ำและรู้ถึงผลเสียของการเปิดน้ำทิ้ง
ฉบับที่ 2 เรื่องความพอประมาณ
ในฉบับนี้มีเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับความพอประมาณหลังจากให้ผู้ปกครองอธิบายกับลูกแล้วก็มีกิจกรรมท้ายบทโดยมีคำถามดังนี้ถ้ามีของเล่นที่เล่นมานานและเกิดเบื่อจะทำอย่างไร ร้อยละ.......บอกว่าก็เล่นต่อไปจนกว่าจะพัง ร้อยละ.......ตอบว่าซื้อใหม่ แสดงให้เห็นว่าเด็กส่วนมากมีความรู้สึกรักในของเล่นและเข้าใจเหตุผลว่าถ้าซื้อใหม่ไม่มีเงินต้องเล่นชิ้นเดิมก่อน และถามว่าถ้าเกิดอยากได้ขนมแต่ไม่มีเงินซื้อจะทำอย่างไร ร้อยละ......บอกว่าไม่ซื้อและร้อยละ........บอกว่าซื้อห่อเล็กไปก่อนแสดงให้เห็นว่าเด็กเริ่มมีทักษะในการแก้ปัญหาได้คือบอกว่าต้องซื้อขนมห่อเล็กจะได้ไม่แพงมาก
ฉบับที่ 3 เรื่องความมีเหตุผล
ในฉบับนี้มีเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับความมีเหตุผลโดยการยกสถานการณ์จำลองในเรื่องของการไปเที่ยววันหยุดสุดสัปดาห์ทุกครั้งแต่เนื่องจากน้ำมันแพงจำเป็นต้องประหยัดทำให้ลดจำนวนการไปเที่ยวน้อยลง จากนั้นให้ผู้ปกครองอธิบายให้ลูกฟังและถามความรู้สึกลูกว่าจะทำอย่างไร ร้อยละ......บอกว่าก็ไม่ต้องไปเที่ยวและร้อยละ......บอกว่าก็เปลี่ยนไปเที่ยวที่ใกล้ ๆ แทน จากคำตอบแสดงให้เห็นว่าเด็ก ๆ เริ่มมีเหตุผลและเข้าใจว่าถ้าเราไม่ประหยัดน้ำมันก็ต้องเปลืองเงินมากขึ้นและเริ่มมีทักษะการแก้ปัญหาคือเปลี่ยนไปเที่ยวระยะทางที่ใกล้จะได้ประหยัดน้ำมัน
ฉบับที่ 4 เรื่องการมีภูมิคุ้มกันที่ดี
ในฉบับนี้มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการมีภูมิคุ้มกันในการรับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นโดยในฉบับนี้เปลี่ยนจากคำถามมาเป็นชวนให้เด็กได้ทำกิจกรรมกับผู้ปกครองโดยให้เด็กได้มีส่วนร่วมคือการซ่อมแซมของเล่นที่พังร้อยละ........คือเด็กให้ความร่วมมือกับผู้ปกครองเช่นการช่วยหยิบจับของเล่นที่พังมาซ่อมแซมและขณะที่ซ่อมก็มีการซักถามพูดคุยกันว่าพังเพราะสาเหตุและร้อยละ......บอกว่าพังก็ซื้อใหม่และไม่ใส่ใจกิจกรรม จากพฤติกรรมของเด็กส่วนมากแสดงให้เห็นว่าเด็กเริ่มเข้าใจว่าสิ่งของที่พังถ้าเราเอามาซ่อมใหม่ก็สามารถนำมาใช้ได้
ฉบับที่ 5 เงื่อนไขความรู้
ในฉบับนี้มีเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับการมีความรู้โดยมีกิจกรรมท้ายบทคือให้ผู้ปกครองได้ให้เด็กได้แยกแยะนมจากประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของตนเองและให้บอกสี กลิ่นและรสชาติของนมว่าเป็นอย่างไรและเปรียบเทียบนมหลาย ๆ รสชาติว่าเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร เด็กร้อยละ........บอกได้และแยกแยะนมได้ พร้อมทั้งบอกว่าตนเองชอบรสชาติแบบไหน จากนั้นยังบอกวิธีการถนอมและเก็บรักษานมโดยบอกว่าต้องเก็บเข้าตู้เย็น แสดงให้เห็นว่าเด็กมีความรู้ในเรื่องของนมจากประสบการณ์เดิมของตนเองโดยผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
ฉบับที่ 6 เงื่อนไขคุณธรรม
ในฉบับนี้มีเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับเงื่อนไขคุณธรรมโดยให้ผู้ปกครองได้ยกสถานการณ์จากชีวิตประจำวันที่พบเจอทั้งในโรงเรียนและที่บ้านในเรื่องเกี่ยวกับการแบ่งปันสิ่งของเช่นขนมหรือของเล่นว่าต้องบ่งปันให้เพื่อน เมื่อฟังผู้ปกครองอธิบายเด็กร้อยละ......ตอบว่าตนเองจะแบ่งปันขนมให้เพื่อน และเด็กร้อยละ .....ยังมีการยึดตนเองเป็นศูนย์กลางโดยบอกว่าจะแบ่งให้เฉพาะคนที่ตนเองชอบเท่านั้น แสดงให้เห็นว่าเด็กว่าเด็กส่วนมากเริ่มแสดงความมีน้ำใจต่อเพื่อนได้บ้างและนอกจากนี้เด็ก ๆ ยังแสดงถึงความมีวินัยในตนเองว่าถ้าเล่นของเล่นเสร็จแล้วจะต้องช่วยครูเก็บเข้าที่
ฉบับที่ 1 ภาพรวมและเนื้อหาสาระรวมของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ในฉบับนี้ได้รวบรวมเนื้อหาสาระที่กล่าวถึงภาพรวมของหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและในกิจกรรมท้ายบทโดยมีคำถามที่เกี่ยวกับการดูแลรักษาของเล่นร้อยละ ..... บอกว่าถ้าของเล่นพังจะให้พ่อกับแม่ซ่อมหรือเล่นให้พังก่อนนำไปทิ้งและซื้อใหม่ส่วนร้อยละ ........บอกว่าพังก็พังไปเดี๋ยวค่อยซื้อใหม่ จากคำตอบแสดงให้เห็นว่าเด็กส่วนมากเริ่มมีทักษะในการแก้ปัญหาคือรู้ว่าตนเองยังซ่อมไม่ได้ก็จะนำไปให้พ่อกับแม่ซ่อม นอกจากนี้ยังมีคำถามว่าถ้าเห็นน้ำไหลทิ้งจะทำอย่างไร ร้อยละ.........ตอบว่าจะเดินไปปิดเพราะช่วยแม่ประหยัดน้ำเดี๋ยวน้ำหมด ร้อยละ.......บอกว่าไม่ปิดให้ครูปิดเพราะเดี๋ยวไปไม่ทันเพื่อน แสดงให้เห็นว่าเด็กเริ่มมีความเข้าใจในเรื่องของการประหยัดน้ำและรู้ถึงผลเสียของการเปิดน้ำทิ้ง
ฉบับที่ 2 เรื่องความพอประมาณ
ในฉบับนี้มีเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับความพอประมาณหลังจากให้ผู้ปกครองอธิบายกับลูกแล้วก็มีกิจกรรมท้ายบทโดยมีคำถามดังนี้ถ้ามีของเล่นที่เล่นมานานและเกิดเบื่อจะทำอย่างไร ร้อยละ.......บอกว่าก็เล่นต่อไปจนกว่าจะพัง ร้อยละ.......ตอบว่าซื้อใหม่ แสดงให้เห็นว่าเด็กส่วนมากมีความรู้สึกรักในของเล่นและเข้าใจเหตุผลว่าถ้าซื้อใหม่ไม่มีเงินต้องเล่นชิ้นเดิมก่อน และถามว่าถ้าเกิดอยากได้ขนมแต่ไม่มีเงินซื้อจะทำอย่างไร ร้อยละ......บอกว่าไม่ซื้อและร้อยละ........บอกว่าซื้อห่อเล็กไปก่อนแสดงให้เห็นว่าเด็กเริ่มมีทักษะในการแก้ปัญหาได้คือบอกว่าต้องซื้อขนมห่อเล็กจะได้ไม่แพงมาก
ฉบับที่ 3 เรื่องความมีเหตุผล
ในฉบับนี้มีเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับความมีเหตุผลโดยการยกสถานการณ์จำลองในเรื่องของการไปเที่ยววันหยุดสุดสัปดาห์ทุกครั้งแต่เนื่องจากน้ำมันแพงจำเป็นต้องประหยัดทำให้ลดจำนวนการไปเที่ยวน้อยลง จากนั้นให้ผู้ปกครองอธิบายให้ลูกฟังและถามความรู้สึกลูกว่าจะทำอย่างไร ร้อยละ......บอกว่าก็ไม่ต้องไปเที่ยวและร้อยละ......บอกว่าก็เปลี่ยนไปเที่ยวที่ใกล้ ๆ แทน จากคำตอบแสดงให้เห็นว่าเด็ก ๆ เริ่มมีเหตุผลและเข้าใจว่าถ้าเราไม่ประหยัดน้ำมันก็ต้องเปลืองเงินมากขึ้นและเริ่มมีทักษะการแก้ปัญหาคือเปลี่ยนไปเที่ยวระยะทางที่ใกล้จะได้ประหยัดน้ำมัน
ฉบับที่ 4 เรื่องการมีภูมิคุ้มกันที่ดี
ในฉบับนี้มีเนื้อหาสาระเกี่ยวกับการมีภูมิคุ้มกันในการรับการเปลี่ยนแปลงของสถานการณ์ที่จะเกิดขึ้นโดยในฉบับนี้เปลี่ยนจากคำถามมาเป็นชวนให้เด็กได้ทำกิจกรรมกับผู้ปกครองโดยให้เด็กได้มีส่วนร่วมคือการซ่อมแซมของเล่นที่พังร้อยละ........คือเด็กให้ความร่วมมือกับผู้ปกครองเช่นการช่วยหยิบจับของเล่นที่พังมาซ่อมแซมและขณะที่ซ่อมก็มีการซักถามพูดคุยกันว่าพังเพราะสาเหตุและร้อยละ......บอกว่าพังก็ซื้อใหม่และไม่ใส่ใจกิจกรรม จากพฤติกรรมของเด็กส่วนมากแสดงให้เห็นว่าเด็กเริ่มเข้าใจว่าสิ่งของที่พังถ้าเราเอามาซ่อมใหม่ก็สามารถนำมาใช้ได้
ฉบับที่ 5 เงื่อนไขความรู้
ในฉบับนี้มีเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับการมีความรู้โดยมีกิจกรรมท้ายบทคือให้ผู้ปกครองได้ให้เด็กได้แยกแยะนมจากประสาทสัมผัสทั้ง 5 ของตนเองและให้บอกสี กลิ่นและรสชาติของนมว่าเป็นอย่างไรและเปรียบเทียบนมหลาย ๆ รสชาติว่าเหมือนและแตกต่างกันอย่างไร เด็กร้อยละ........บอกได้และแยกแยะนมได้ พร้อมทั้งบอกว่าตนเองชอบรสชาติแบบไหน จากนั้นยังบอกวิธีการถนอมและเก็บรักษานมโดยบอกว่าต้องเก็บเข้าตู้เย็น แสดงให้เห็นว่าเด็กมีความรู้ในเรื่องของนมจากประสบการณ์เดิมของตนเองโดยผ่านการใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5
ฉบับที่ 6 เงื่อนไขคุณธรรม
ในฉบับนี้มีเนื้อหาสาระที่เกี่ยวกับเงื่อนไขคุณธรรมโดยให้ผู้ปกครองได้ยกสถานการณ์จากชีวิตประจำวันที่พบเจอทั้งในโรงเรียนและที่บ้านในเรื่องเกี่ยวกับการแบ่งปันสิ่งของเช่นขนมหรือของเล่นว่าต้องบ่งปันให้เพื่อน เมื่อฟังผู้ปกครองอธิบายเด็กร้อยละ......ตอบว่าตนเองจะแบ่งปันขนมให้เพื่อน และเด็กร้อยละ .....ยังมีการยึดตนเองเป็นศูนย์กลางโดยบอกว่าจะแบ่งให้เฉพาะคนที่ตนเองชอบเท่านั้น แสดงให้เห็นว่าเด็กว่าเด็กส่วนมากเริ่มแสดงความมีน้ำใจต่อเพื่อนได้บ้างและนอกจากนี้เด็ก ๆ ยังแสดงถึงความมีวินัยในตนเองว่าถ้าเล่นของเล่นเสร็จแล้วจะต้องช่วยครูเก็บเข้าที่